แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03948
สัญญาเลขที่ 58-00-1917

ชื่อโครงการ บ้านห้วยไทร หมู่ 10 น่าอยู่ฟื้นฟูเศรษฐกิจเน้นความเจริญด้านอาหาร
รหัสโครงการ 58-03948 สัญญาเลขที่ 58-00-1917
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางสาวอนัญญาแสะหลี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 6 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 ตุลาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสุไหลหมาน สายเส็น 151 ม. 10 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล 0911709546
2 นายสุชาติ หมาดง๊ะ 136 ม. 3 ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล 0896544945

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งและสามารถจัดการข้อมูลชุมชนได้

  • มีฐานข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชนจำนวน 1 ชุด
  • มีแกนนำชุมชนและเด็กเยาวชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูลจำนวน 20 คน
  • มีแผนปฏิบัติงานของพื้นที่

2.

เพื่อให้เกิดกระบวนการการจัดการปัญหาหนี้สินในชุมชน

  • มีครัวเรือนต้นแบบการทำบัญชีครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน
  • มีกติการ่วมของชุมชน

3.

เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกการขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน 15 คน จำนวน 1 ชุด
  • เกิดสภาหมู่บ้าน1 สภา
  • สมาชิกสภาประกอบด้วย กรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนจำนวน30 คน
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
  • มีแผนปฏิบัติการอย่างน้อย 5 แผน
  • ประชุมกรรมการสภา 10 ครั้ง

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 10 ครั้ง/ปีi

8,200.00 0 ผลผลิต

ในงวดที่ 2 มีการประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 6 ครั้งประกอบด้วย

  • ครั้งที่ 4 จัดกิจกรรมวันที่ 20 ก.พ.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการประชุมคณะทำงานสภาหารือเรื่องกิจกรรมที่กำลังดำเนินการและเน้นย้ำเรื่องการทำงานเป็นทีมการแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
  • ครั้งที่ 5 จัดกิจกรรมวันที่ 20 มี.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการพูดคุยวางแผนการทำงานของชุมชนและหารือกิจกรรมที่จะไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานของพื้นที่
  • ครั้งที่ 6 จัดกิจกรรมวันที่ 8 เม.ย.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการพูดคุยวางแผนการทำงานของพื้นที่และชี้แจงผลการขับเคลื่อนการทำงานที่ผ่านมาของหมู่บ้านต่อด้วยการวางแผนการทำงานในพื้นที่
  • ครั้งที่ 7 จัดกิจกรรมวันที่ 5 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการ ทบทวนโครงสร้างและวางแผนการขับเคลื่อนการทำงานของหมู่บ้าน
  • ครั้งที่ 8 จัดกิจกรรมวันที่ 15 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการพูดคุยเพื่อวางแผนในการจัดทำกลุ่มอาชีพในชุมชนและการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
  • ครั้งที่ 9 จัดกิจกรรมวันที่ 8 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการรายงานผลการขับเคลื่อนการทำงานของกลุ่มต่างที่ทำในชุมชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน 1 สภาที่ประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรกลุ่มต่างที่มีอยู่ในชุมชนจำนวน 30 คนได้ร่วมกันออกแบบในการจัดกิจกรรมเป็นกลไกที่คอยกำหนดทิศทางการทำงาน
  • คณะทำงานได้ร่วมกันออกแบบและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการทำงานในชุมชนเพื่อให้การทำงานบรรลุวัตถุประสงค์

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  บัณฑิตอาสาฯ  อสม.  กลุ่มสตรี  อบต.และผู้แทนกลุ่มต่างๆ

820.00 850.00 30 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แต่งตั้งประธานรองประธานเลขานุการเหรัญญิกและคณะกรรมการฝ่ายต่างๆเกิดจิตอาสาการทำงานมากขึ้นเข้าใจและยอมรับกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้
  • คณะทำงานได้เสนอความคิดเห็นกันปัญหาการรวมกลุ่มการอยู่ด้วยกันในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไปด้วยกันและการพัฒนาสภาให้มีความรับผิดชอบมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้มีผู้นำที่เข้มแข็งและพร้อมที่จะช่วยเหลือแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนและชุมชนเองก็จะเจริญก้าวหน้าสามารถรับกับสถานการณ์ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบันมีการเลือกแต่งตั้งประธานสภารองประธานสภาเลขานุการเหรัญญิกและกรรมการฝ่ายต่างๆ

คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา ส.อบต. อสม. โรงเรียน กลุ่มสตรี 

820.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 2 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านห้วยไทร จำนวน 30 คน มีการประชุมชี้แจงเรื่องประชุมตามระเบียบวาระที่ได้แจกให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนทราบ และร่วมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป คือ ประชุมคณะทำงานวิชาการออกแบบ แบบสำรวจข้อมูลหนี้สินในชุมชน และแกนนำกลุ่มภาคีต่างๆ คือ ปกครอง อบต. อสม. โรงเรียนผู้นำศาสนา และกลุ่มสตรี แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือตามแผนการขับเคลื่อนงานของชุมชนในทุกๆด้าน และกำหนดจัดประชุมสภาผู้นำทุกวันที่ 20 ของเดือน

คณะทำงานโครงการ คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา ส.อบต. อสม. โรงเรียน กลุ่มสตรี กองทุนหมู่บ้าน จำนวน 30 คน

820.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 3 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านห้วยไทร จำนวน 30 คน มีการประชุมชี้แจงเรื่องประชุมตามระเบียบวาระที่ได้แจกให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนทราบ และร่วมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป คือ ประชุมคณะทำงานลงเก็บข้อมูล จำนวน 20 คน ตามแบบสำรวจข้อมูลหนี้สินในชุมชน และแกนนำกลุ่มภาคีต่างๆ คือ ปกครอง อบต. อสม. โรงเรียน กองทุนหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา และกลุ่มสตรี แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือตามแผนการขับเคลื่อนงานของชุมชนในทุกๆด้าน และกำหนดจัดประชุมสภาผู้นำทุกวันที่ 20 ของเดือน

คณะทำงานโครงการรพ.สต. สมาชิก อบต อสม. 30 คน

820.00 820.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่20กุมภาพันธ์2559เวลา13.00 น นางกิ่งดาวเอ็กหลีประธานชุมชนได้กล่าวพูดถึงการดำเนินกิจกรรมสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของชุมชนเพื่อการขับเคลื่อนการทำงานให้เป็นทีมงานที่มีความสามัคคีในหมู่คณะภายใต้กิจกรรมของโครงการบ้านห้วยไทร หมู่ที่ 10 เน้นความเจริญด้านอาหาร ในที่ประชุมประธานได้เน้นย้ำถึงการทำงานเป็นทีม ซึ่งให้ข้อมูลที่ได้มานั้นตรงกับเป้าหมายและให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยการสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ุ

คณะทำงานโครงการ  สี่เสาหลัก  อสม.  กลุ่มองค์กรต่างๆ

820.00 820.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 20 มีนาคม 2559 เวลา 14. 00 น ณ อาคารเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้านหว้ยไทร จัดประชุมทีมสภาผู้นำหมู่บ้านเพื่อติเตามดำเนินกิจกรรมของงานทีผ่านมาโดยมีนายสุไลหมานสายเส็น และ นายสุชาติหมาดง๊ะผู้ช่วยในการจัดกิจกรรมประชุมสภาผู้นำชุมชนเพื่อให้งานที่ผ่านมานั้นกลับมาทบทวนรายละเอียดและพูดคุยเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกินขึ้นในอนาคตเพื่อวางแผนกำหนดกลไกลหารือพร้อมกัน และพร้อมที่จะเสนอแนวทางพร้อมกันและที่ประชุมได้เสนอว่าจะมีการเปลี่ยนสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากตำบลย่านซื่ออำเภอควนโดนจังหวัดสตูลเป็นบ้านลำธุ์สินเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยได้ติดต่อนายอุทัยบุญดำ วิทยากรเป็นที่เรียบร้อยแล้วก่อนไปศึกษาดูงานส่วนค่าใช้จ่ายหากเป็นส่วนเกินทางผู้ใหญ่บ้านสมทบจากค่าใช้จ่ายทั้งหมด ที่ประชุมได้มีการเห็นชอบที่จะไปศึกษาดูงานที่จังหวัดพัทลุง ปิดประชุมเวลา15.00 น

  • คณะทำงานและคนในชุมชน
820.00 1,100.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 6 ณ อาคารเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้านห้วยไทร จำนวน  30 คนมีการชี้แจงการทำกิจกรรมต่างๆ
  • โดยได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านเป็นอย่างดี
  • ทีมสภาได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบการเตรียมจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  • ผู้นำภาคีเครือข่ายต่างๆผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกอบต. อสม. กลุ่มสตรี ผู้นำศาสนาและกองทุนหมู่บ้าน แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่
  • คณะทำงานโครงการ
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • กลุ่มสตรี

จำนวน 30 คน

820.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีสภาผู้นำหมู่บ้าน จำนวน 1 สภา ประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้านและกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน จำนวน 30 คน
  • ที่ประชุมลงมติจัดทำศูนย์เรียนรู้ จัดแบ่งพื้นที่ในการปลูกผัก เพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้โดยใช้พื้นโรงเรียนบ้านห้วยไทรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำล และพื้นที่ในหมู่บ้านห้วยไทร

คณะทำงานสี่เสาหลักผู้นำชุมชนองค์กรต่าง ๆ จำนวน 30 คน

820.00 1,190.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนมีคว่ามเข้มแข็งมีความรักสมัคคีของคนในชุมชนและได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ

คณะทำงานโครงการ  สี่เสาหลัก  อสม.  กลุ่มกองทุนต่างๆ

820.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีสภาหมู่บ้าน จำนวน 1 สภาประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน จำนวน 30 คน
  • ที่ประชุมรับทราบของการทำงานกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ สสส.

-คณะทำงานโครงการสี่เสาหลักอสม.กลุ่มกองทุนต่างๆ

820.00 1,230.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้วันเวลาในการลงพื้นที่ประเมินโครงการ
  • ได้รับแนวคิดของทีมสภาในการนำเสนอกวัตถุดิบในการจัดกิจกรรม
  • ได้มีการเสนอเพื่อให้กลุ่มมีการต่อยอดโครงการต่อไป
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน
  • มีการประชุมกันอย่างต่อเนื่องจำนวน 10 ครั้งต่อปี
  • มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ละครั้งที่นำไปสู่การทำงานอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน
  • สรุปผลรายงานกิจกรรมแต่ละครั้ง

กิจกรรมหลัก : สรุปวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาหนี้สินi

4,820.00 70 ผลผลิต
  • สรุปวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาหนี้สินจัดกิจกรรมวันที่ 8 มี.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณืหนี้สินของคนในชุมชนตามแบบสอบถาม

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ข้อมูลหนี้สิน และครอบครัวที่ผ่านการวิเคราะห์ให้เห็นภาพรวมสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น
  • ได้ข้อมูลหนี้สินครอบครัวจำนวน 1 ชุด
  • คณะทำงานมีความร่วมมือกันในการวิเคราะหฺ์สรุปหนี้สินโดยแบ่งหน้าที่กันในการสรุปแบบสอบถามหนี้สินแต่ละหัวข้อของแต่ละครัวเรือนซึ่งครัวเรือนทั้งหมดมี200ครัวเรือน
  • ได้ผลสรุปเป็นตัวเลขเพื่อนำไปสู่เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนจริง 30 คน

4,820.00 4,920.00 20 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลหนี้สิน และครอบครัวที่ผ่านการวิเคราะห์ให้เห็นภาพรวมสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น
  • ได้ข้อมูลหนี้สินครอบครัวจำนวน 1 ชุด
  • คณะทำงานมีความร่วมมือกันในการวิเคราะหฺ์สรุปหนี้สินโดยแบ้งหน้าที่กันในการสรุปแบบสอบถามหนี้สินแต่ละหัวข้อของแต่ละครัวเรือนซึ่งครัวเรือนทั้งหมดมี200ครัวเรือน
  • ได้ผลสรุปเป็นตัวเลขเพื่อนำไปคืนเวที100คน

กิจกรรมหลัก : เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน 100 คนi

14,000.00 70 ผลผลิต
  • เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนจัดกิจกรรมวันที่ 17 มี.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 100 คน เป็นการคืนข้อมูลสถานการณืหนี้สินให้กับคนในชุมชนได้รับทราบ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับรู้สถานการณ์หนี้สินแต่ละครัวเรือนเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด
  • เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถดำเนินการไปพร้อมกับแผนชุมชนได้
  • คนในชุมชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากแบบวิเคราะที่ครัวเรือนได้ตอบคำถามจากการสำรวจจริง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3 คน
  • สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลละงู 2 คน
  • บัณฑิตอาสาฯ 1 คน
  • อสม. 20 คน
  • กลุ่มองค์กรต่างๆในหมู่บ้าน 20 คน
  • ประชาชนในหมู่บ้าน 46 คน

รวมจริง 93 คน

14,000.00 14,400.00 100 93 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับรู้สถานการณ์หนี้สินแต่ละครัวเรือนเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด -  เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถดำเนินไปพร้อมกับแผนชุมชนได้ -  จะทำให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงค์ชีวิตให้ดีขึ้นเมื่อการกระบวนการและความสามารถในการใช้จ่ายของแต่ละครัวเรือน
  • คนในชุมชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากแบบวิเคราะที่ครัวเรือนได้ตอบคำถามจากการสำรวจจริง

กิจกรรมหลัก : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่i

9,900.00 20 ผลผลิต
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่วันที่23 มี.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการไปเรียนรู้การทำงานของพื้นที่ที่มีประสบการในการทำงานแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานและตัวแทนครัวเรือนนำร่องได้ไปเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบที่ตำบลลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานผู้เข้าร่วมโครงการ

9,900.00 9,700.00 20 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-  เวลา 08.00 น. คณะทำงานและผู้นำครัวเรือนต้นแบบ จำนวน30 คน เดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริระดับอำเภอต้นแบบ บ้านลำสินธุ์  ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนคริน  จังหวัดพัทลุง เป็นศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  เป็นครัวเรือนต้นแบบ ตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและใกล้เคียง โดยมีนายนายอุทัย  บุญดำ เป็นวิทยากรและผู้จัดการเรียนรู้ประจำศูนย์ฯ ให้ความรู้การดำเนินวีถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบผสมผสานและมีการจัดทำให้เห็นผลประโยชน์ของหมู่บ้านที่ได้จัดทำขึ้นมา เวลา 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง -  เวลา 10.30 น.  นายอุทัย  บุญดำ ได้แนะนำไปตามศูนย์เรียนรู้ต่าง ผ่านเครือข่ายสินธุ์แพรทอง  มีการบอกแหล่งที่มาและรายละเอียดก่อนที่จะมีการรวมกลุ่มที่มาของศูนย์เรียนรู้ - เวลา ๑๑.๐๐ น . เยี่มชมฐานเรียนรู้ต่าง ๆ  เพื่อศึกษารายละเอียดเพื่อให้ได้ความรู้กับสมาชิกในกลุ่มให้ได้มากที่สุด  เช่น การปลูกผักพื้นบ้านกินยอด  การปลูกผักตามฤดูกาล  ฯลฯ -  เวลา ๑๒.๐๐ น. รับประธานอาหารเที่ยง ณ ศูนย์เรียนรู้เครือข่ายแพรสินธุ์ทอง
-  เวลา ๑๓.๐๐น  เยี่ยมชมตลาดเครือข่ายแพรสินธุ์  ของหมู่บ้านชาวบ้านในหมู่บ้านได้ร่วมมือกันสร้างตลาดขึ้นมาโดบมีการนำผักของหมู่บ้านมาขายเพื่อให้เกิดรายได้ในชุมชน - เวลา  ๑๕.๐๐ น  รับประธานอาหารว่าง และเดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ

กิจกรรมหลัก : ประชุมและลงมือปฏิบัติครัวเรือนนำร่องในการทำบัญชีครัวเรือนจำนวน 30 ครอบครัวi

6,220.00 30 ผลผลิต
  • ประชุมและลงมือปฏิบัติครัวเรือนนำร่องในการทำบัญชีครัวเรือนจัดกิจกรรมวันที่ 30 มี.ค. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการทำความเข้าใจและคัดเลือครัวเรียนนำร่องในการจัดทำบัญชีครัวเรือน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดกติการ่วมกันของผู้ทำบัญชีครัวเรือน30ครัวเรือน
  • มีการว่างแผนในการทำงานร่วมกัน
  • ครัวเรือนต้นแบบมีความสนใจและพร้อมที่จะเรียนรู้และหาประสบการณ์ใหม่ๆ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน -สมาชิกอบต.
  • บัณฑิตอาสาฯ
  • คนในชุมชน
6,220.00 6,120.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกติการ่วมกันของผู้ทำบัญชีครัวเรือน30ครัวเรือน
  • มีการว่างแผนในการทำงานร่วมกัน
  • มีการเอาใจใสกับสิ่งที่เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ

กิจกรรมหลัก : อบรมและลงมือปฏิบัตัเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริงi

7,620.00 70 ผลผลิต
  • อบรมและลงมือปฏิบัตัเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริงจัดกิจกรรมวันที่ 18 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เป็นการอบรมเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่าย

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ครัวเรือนต้นแบบสามารถใช้ความรู้จากการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายได้
  • ครัวเรือนต้นแบบได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • กลุ่มเป้าหมาย 30 คน
7,620.00 7,420.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครัวเรือนต้นแบบสามารถใช้ความรู้จากการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่าย
  • คนในชุมชนได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ

กิจกรรมหลัก : อบรมใส่แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้กับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 ครัวเรือนi

5,720.00 30 ผลผลิต
  • อบรมใส่แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้กับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการจัดกิจกรรมวันที่ 21 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการอบรมแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ครัวเรือนต้นแบบได้เรียนรู้แนวคิดการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถนำไปใช้กับตนเอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-  ครัวเรือนเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ

5,720.00 5,870.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี

กิจกรรมหลัก : พัฒนาทีมเพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชน 3 ศูนย์i

5,600.00 30 ผลผลิต
  • พัฒนาทีมเพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 3 ศูนย์ จัดกิจกรรมวันที่ 26 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เป็นการพัฒนาให้เกิดศูนย์เรียน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
  • คนในชุมชนมีความสมัคคีกันเกิดกลุ่มที่มีความเข้มแข็งและมีความรับผิดชอบ
  • เกิดกลุ่มที่สามารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน
  • ลดปัญหาการว่างงานของคนในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้นำชุมชน  อสม.กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันพัฒนาศูนย์

5,600.00 5,685.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
  • คนในชุมชนมีความสมัคคีกันเกิดกลุ่มที่มีความเข้มแข็งและมีความรับผิดชอบ
  • ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน
  • ลดปัญหาการว่างงานของคนในชุมชน

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้i

11,720.00 30 ผลผลิต
  • อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้จัดกิจกรรมวันที่ 30 ก.ค.59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เป็นการอบรมให้ความรู้เรื่องผักสวนครัว วิธีการปลูก การเตรียมดิน การปลูกส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถมองเห็นถึงอนาคตที่จะเกิดขึ้นจริงเพราะทุกบ้านจะมีการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้เพราะเป็นพืชระยะสั้นเช่นตำลึงผักบุ้งตะไคล้พริก ฯ และผักอื่นๆอีกมากมายเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมมีองค์ความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและวิธีการเตรียมดิน
  • ได้รับเมล็ดพันธ์เพื่อไปใช้ปลูกในพื้นที่ของตนเอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมายในครัวเรือน 

11,720.00 11,800.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากที่ประชุมได้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถมองเห็นถึงอนาคตที่จะเกิดขึ้นจริงเพราะทุกบ้านจะมีกาทรปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้เพราะเป็นพืชระยะสั้น  เช่นตำลึง  ผักบุ้ง  ตะไคล้  พริก ฯ และผักอื่นๆอีกมากมาย  เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : ปฏิบัติการลงพื้นที่พัฒนาศูนย์เรียนรู้จำนวน 3 วันi

20,300.00 30 ผลผลิต
  • ปฏิบัติการลงพื้นที่พัฒนาศูนย์เรียนรู้จำนวน 3 วันประกอบด้วยวันที่ 3-5 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เป็นการปฏิบัติการของครัวเรือนนำร่องในการจัดศูนย์เรียนรู้ให้เป็นพื้นที่กลางของหมู่บ้านจำนวน 3 ศูนย์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ครัวเรือนต้นแบบได้ช่วยกันพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 3 ศูนย์คือบริเวณสระน้ำหมู่บ้าน พื้นที่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนบ้านห้วยไทร
  • มีการจัดทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อใช้ในหมู่บ้านต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนำร่องช่วยพัฒนากันจัดทำศูนย์เรียนรู้ในชุมชนแบ่งหน้าที่ในการรับผิดชอบโดยแต่ละศูนย์จะมีหัวหน้ากลุ่มคอยประสานงานและคอยรายงานความคืบหน้าของกลุ่มเพื่อให้ศูนย์มีการเรียนรู้และเกิดผลประโยชน์กับกลุ่มมากที่สุด

20,300.00 20,300.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีศูนย์เรียนรู้ทั้งหมดสามศูนย์เพื่อให้ประชาชนมีพืนฐานในการเรียนรู้และปฏิบัติเพื่อให้ได้ประโยชน์จากการพัฒนาได้มากที่สุุด

กิจกรรมหลัก : ทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นi

7,220.00 30 ผลผลิต
  • ทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นจัดกิจกรรมวันที่ 1 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการทบทวนกติกาของหมู่บ้านใหสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้กติกาของหมู่บ้านที่ผ่านความเห็นชอบของคนในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มครัวเรือนเป้าหมาย

7,220.00 6,870.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชาวบ้านรู้จักบันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง
  • ห้ามลูกหลานของตนเองยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  • ห้ามนำสัตว์เลี้ยงเข้ามาในบริเวณสถานที่ราชการและสวนของชาวบ้าน

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะกรรมการประเมิน 10 คนi

3,800.00 25 ผลผลิต
  • ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบจัดกิจกรรมวันที่ 12 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 10 คน เป็นการทำความเข้าใจวางวางเกณฑ์ในการลงพื้นที่ประเมินที่มีเกณฑ์เหมือนกัน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะกรรมการประเมินได้ร่วมกันวางเกณฑ์ก่อนลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนต้นแบบ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะกรรรมที่ได้รับการคัดเลือกจำนวน  10  คน

3,800.00 3,800.00 25 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการทั้ง10คน ได้ลงพื้นที่เพื่อที่จะปนะเมินครัวเรือนต้นแบบเพื่อให้ได้ครัวเรือนำร่องในการเข้าร่วมโครงการสู่ครัวเรือนต้นแบบและมีการจัดลำดับความสำคัญของครัวเรือนที่ที่ปฏิบัติครัวเรือนต้นแบบและคณะกรรมการประเมินครัวเรือนประชุมเพื่อทำความเข้าใจในการประเมินครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนนำร่องและวางแผนในการลงพื้นที่เพื่อประเมินครัวเรือนนำร่องที่ผ่านเกณฑ์ตามกติกาที่เคยได้วางเอาไว้ มีการวางระเบียบกฎเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ จนได้รูปแบบการประเมินครัวเรือนนำร่องเพื่อนำไปเป็นเกณฑ์ในการประเมินครัวเรือนต้นแบบดีเด่นต่อไป

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • มีการพบพี่เลี้ยงโครงการในงวดที่ 2 ครั้ง เพื่อปรึกษาหารือเรื่องการจัดทำเอกสารและรายงานกิจกรรมรวมทั้งการปรับปฏิทินโครงการให้สอดคล้องกับการทำงานของพื้นที่

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานเข้าใจและสามารถปรับเอกสารและรายงานกิจกรรมในเวบไซค์
  • ได้ปรับปฏิทินโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 18 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ/เจ้าของโครงการ

2,000.00 400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ฝึกปฏิบัติในการลงข้อมูล เข้าใจหลักการบริหารจัดการโครงการ วางแผนปฏิทินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ และเข้าใจหลักเอกสารการเงิน การใช้จ่ายให้ตรงกับสัญญาโครงการและบริหารจัดการในโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ

คณะทำงานโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มาปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดทำเอกสารและร่วมกันกำหนดวันในการจัดกิจกรรมจริงของพื้นที่
  • ได้หารือกับพี่เลี้ยงในการกำหนดกิจกรรมโครงการในครั้งต่อไป

ผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 500.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการรับเงินคืนสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 2 คน

2,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

•คณะทำงานโครงการแต่ละพื้นที่เข้าใจการเขียนรายงานและหลักการในการจัดการเอกสารการเงินโครงการ และเข้าใจการหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่

  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจการจัดการเอกสารและร่วมกันปรับตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงในการจัดทำเอกสารและการรายงานกิจกรรมลงในเวบไซค์

คณะทำงานโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เอกสารที่ได้รับการตรวจความถูกต้องพร้อมที่รายงานการปิดงวด

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 

2,000.00 880.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่ สจรส.ทำการตรวจเอกสารการเงินและรายงานในเวปไซด์ ตามกิจกรรมที่พื้นที่ได้จัดดำเนินการในแต่ละกิจกรรม พร้อมทั้งตรวจรายงานและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะและเขียนรายงานเพิ่มเติม

  • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
  • ตัวแทนคณะทำงานโครงการ
0.00 1,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนรายงาน และการเงินปิดงวด 1 ได้ดียิ่งขึ้น

คณะทำงานโครงการ(เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ

0.00 200.00 1 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อสรุปงานกิจกรรมโครงการที่ได้ดำเนินงานและแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

  • คณะทำงานโครงการ 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พบพี่เลี้ยงในการดำเนินการปรับปฏิทินโครงการสำหรับกิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ ให้เป็นปัจจุบัน และเพิ่มเติมรายละเอียดการบันทึกรายงานกิจกรรมให้ละเอียด ครบถ้วนและชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ได้ผลการดำเนินกิจกรรมไปตามแผนที่วางไว้

คณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ผลลัพธ์จากการรวบรวมเอกสารทางการเงินและการนำรายงานเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์

  • คณะทำงานโครงการ
2,000.00 3,280.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3 ตุลาคม เวลา 12.00-13.00 น.มีการแสดงโขน และพิธีเปิด โดยร่วมกันร้องเพลงชาติไทย กล่าวต้อนรับ นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา และกล่าวพิธีเปิด โดยนายแพทย์วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 13.30-15.00 มีการปาฐกถา เรื่องบทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียนโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี จากนั้นมีการเสวนาเรื่องมุมมองใหม่ในการพััฒนาระบบสุขภาพในอนาคตการพัฒนาที่มุ่งเน้นการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสำคัญโดยเฉพาะการพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในช่วง4ทศวรรษที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาที่ก่อให้เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อทรัพยากรโลกเป็นอย่างมากเมื่อปี2543ดังนั้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่ององค์การสหประชาชาติจึงได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาขึ้นใหม่โดยอาศัยกรอบความคิดที่มองการพัฒนาเป็นมิติของเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้มีความเชื่อมโยงเรียกว่าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งจะใช้เป็นทิศทางการพัฒนาตั้งแต่เดือนกันยายนปี2558ถึงเดือนสิงหาคม2573 ครอบคลุมระยะเวลา15ปีโดยประกอบไปด้วย17เป้าหมายคือองค์การสหประชาชาติได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน17เป้าหมายหลักเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมิติสุขภาวะของโลกและประเทศไทย วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09.00-17.00 น.ประชุมห้องย่อย สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ ชมวิดีทัศน์การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ หลังจากนั้นมีการเสวนา เรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่สาธารณะโครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาว ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชันสน จังหวัดพัทลุง โดยผู้ใหญ่บ้านทุ่งยาว นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วง สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดพัทลุง สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง เลขานายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จากนั้นมีการแสดงโขนคน ตอน เชิดพระอิศวร และต่อมาได้มีการนำเสนอกรณีศึกษา ในประเด็นต่างๆ เช่น ประเด็นการจัดการจัดการขยะ ประเด็นเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นเด็กและเยาวชน ประเด็น การจัดการทรัพยากรและการท่องเทียว และประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัย วันที่5ตุลาคม2559เวลา10.30-11.45น.หัวข้อเสวนาการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซียนภาคใต้มีกระบวนการขับเคลื่อนงานสุขภาพของประชาชนในพื้นที่โดยในทุกๆปีจะมีการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ปีละครั้งมาตั้งแต่ปีพ.ศ.2549กิจกรรมประกอบด้วยการบรรยายหัวข้อที่หลากหลายโดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับประเทศมาเป็นวิทยากรนอกจากนี้ภายในงานยังมีการจัดนิทรรศการการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยของบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐอาจารย์นักวิจัยนักศึกษาระดับบัณฑิตอาสาและบุคคลผู้สนใจทั่วไปการประชุมห้องย่อยตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ซึ่งประเด็นสำคัญที่เป็นวิกฤตสุขภาพได้แก่1. ความมั่นคงทางมนุษย์2.ความมั่นคงทางอาหาร3.ความมั่นคงทางทรัพยากร4.ความมั่นคงทางสุขภาพ
  • คณะทำงานโครงการ 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • ได้รับคำแนะนำเพิ่มเติมจากพี่เลี้ยงในการรายงานการบันทึกกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการจำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 1 คน
0.00 200.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงสามารถตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • ตัวแทนคณะทำงาน 2 คน
2,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สรุปจัดทำรายงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปิดงวดโครงการงวดที่ 2
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน
  • ใช้สภาผู้นำหมู่บ้านในการขับเคลื่อนการทำงานโดยโครงสร้างสภาผู้นำหมู่บ้านมาจากคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างที่มีอยู่ในชุมชน
  • การขับเคลื่อนงานของพื้นที่มีคนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นโดยการกระจายการทำงานของคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน
  • มีหน่วยงาน เช่นอำเภอท้องถิ่นเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นที่ปรึกษาของทีมพื้นที่
1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน
  • คณะทำงานโครงการมีความพร้อมในการเรียนรู้และพร้อมรับสิ่งใหม่ๆ
  • คนทำงานมีประสบการณ์ในการทำงานและรับฟังคำแนะนำของพี่เลี้ยงเป็นอย่างดี
  • เมื่อทำงานมาได้ระยะหนึ่งคนทำงานก็มีประสบการณ์ในการทำงานมากขึ้น
1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • จากการติดตามการทำงานของพื้นที่ในเรื่องการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้และมีการทำกิจกรรมต่างๆเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้คนในชุมชนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและให้มีครัวเรือนนำร่องในการทำกิจกรรม และมีศูนย์เรียนรู้ที่สามารถขยับต่อได้ 2 ศูนย์และอีก 1 ศูนย์ไม่สามารถดำเนินการต่อได้แต่คณะทำงานพื้นที่ก็ยังต้องพัฒนาให้ศูนย์เรียนรู้สามารถดำเนินการต่อได้โดยการศึกษาเพื่อปรับพื้นที่อีกครั้งและให้มีพื้นที่เรียนรู้เพิ่มมากขึ้น
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน ตามแผนการใช้จ่าย มีการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้และมีการจัดทำรายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และมีการรายงานต่อคณะกรรมการโครงการได้รับทราบ
2.2 การใช้จ่ายเงิน
  • การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีการกำหนดเป้าหมายแผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานและงบประมาณที่ต้องใช้เบิกจ่ายงบประมาณตามห้วงเวลาของกิจกรรม งานมีความต่อเนื่อง ตามเป้าหมาย ภายในระยะเวลาที่กำหนด ใช้งบประมาณสอดคล้องตามแผน การดำเนินเปิดเผยและเที่ยงธรรม เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและบรรลุภารกิจตามแผนที่กำหนดไว้
2.3 หลักฐานการเงิน
  • มีหลักฐานการใช้จ่ายเงินทุกกิจกรรม
  • ปรับเอกสารการเงินตามที่ทีม สจรส.และพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ
  • มาพบพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่องเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิน
ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น
  • จากการติดตามการทำงานโครงการมีการประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านอย่างต่อเนื่องเพื่อวางแผนและกำหนดทิศทางการเคลื่อนงานในชุมชนและมีการจัดกิจกรรมที่คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมรวมทั้งหน่วยต่างๆที่มีอยู่ในพื้นที่ เช่น โรงเรียน รพ.สต.อสม.และกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชน ทำให้การทำงานของพื้นที่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้และมีแผนในการขับเคลื่อนงานต่อโดยจะของบกองทุนท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • จากการติดตามการทำงานโครงการมีการประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง โดยทีมสภาผู้นำหมู่บ้านประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน ได้ร่วมกันออกแบบและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการทำงานในชุมชนเพื่อให้การทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ - ได้ข้อมูลหนี้สิน และครอบครัวที่ผ่านการวิเคราะห์ให้เห็นภาพรวมสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น ได้มีข้อมูลหนี้สินครอบครัวจำนวน 1 ชุด โดยผ่านคณะทำงานที่มีความร่วมมือกันในการวิเคราะหฺ์สรุปหนี้สินโดยแบ่งหน้าที่กันในการสรุปแบบสอบถามหนี้สินแต่ละหัวข้อของแต่ละครัวเรือนซึ่งครัวเรือนทั้งหมดมี200ครัวเรือนซึ่งจะนำผลสรุปเป็นตัวเลขเพื่อนำไปสู่เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชนเพื่อทำให้คนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับรู้สถานการณ์หนี้สินแต่ละครัวเรือนเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และเกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถดำเนินการไปพร้อมกับแผนชุมชนได้ และทำให้คนในชุมชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากแบบวิเคราะที่ครัวเรือนได้ตอบคำถามจากการสำรวจจริง และเสริมพลังโดยการให้คณะทำงานและตัวแทนครัวเรือนนำร่องได้ไปเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบที่ตำบลลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง ได้มีการกำหนดกติการ่วมกันของผู้ทำบัญชีครัวเรือน30ครัวเรือนมีการวางแผนในการทำงานร่วมกัน ดดยครัวเรือนต้นแบบมีความสนใจและพร้อมที่จะเรียนรู้และหาประสบการณ์ใหม่ๆ อบรมและลงมือปฏิบัตัเรื่องการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้จริงทำให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถใช้ความรู้จากการทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายได้และครัวเรือนต้นแบบได้รับประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ ต่อด้วยการอบรมใส่แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้กับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ เมื่อคณะทำงานผ่านการอบรมแล้วก็นำไปสู่การปฏิบัติโดยการพัฒนาทีมเพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 3 ศูนย์ แล้วมาทบทวนกติกาหมู่บ้านเพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยมากขึ้นและนำไปสู่การประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบที่ได้ดำเนินงานมาในระยะหนึ่งเพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้คนทำงานได้ขับเคลื่อนการทำงานต่อในพื้นที่

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong