แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03781
สัญญาเลขที่ 58-00-1988

ชื่อโครงการ มัสยิดสร้าง เยาวชน สู่ชุมชนสโลว์ปาแต่น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03781 สัญญาเลขที่ 58-00-1988
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 11 กรกฎาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 สิงหาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายอาซีมาน อีแต 41 หมู่3 ต.กอตอตือระ อ.รามัน จ.ยะลา 0849664649
2 นายมูหมัดซายูตี ยะสะแต 128/2 หมู่ 1 ต.กอตอตือระ อ.รามัน จ.ยะลา

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักกยภาพสภาผู้นำ(สภาชูรอ)

  1. มีการประชุมสภาผู้นำจำนวน 30 คน ทุกเดือน 12 ครั้ง
  2. จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. มีการพูดคุยเรื่องอื่นๆและรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และรายงานผ่านระบบติดตามออนไลน์ของ สสส.

2.

เพื่อป้องกันเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ติดยาเสพติด

  1. เกิดเครือข่ายเยาวชนที่รวมตัวกันเป็นกลุ่ม กิจกรรมไม่น้อยกว่า 3 กลุ่มตามความสนใจ
  2. เกิดครอบครัวต้นแบบ จำนวน 20 ครัวเรือน
  3. เกิดกติกาชุมชนว่าด้วยเรื่องการดูแลเยาวชน
  4. เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังเยาวชนด้านยาเสพติด 1 เครือข่าย

3.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : เพื่อจัดตั้งและพัฒนาศักยภาพสภาชุมชน(สภาชูรอ น่าอยู่)i

10,000.00 50 ผลผลิต

มีการประชุมคณะทำงาน ที่มีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานมีความทเข้มแข็งขึ้น มีการทำงานที่เป็นระบบมากขึ้นและมีการนำเยาวชนเข้ามาเป็นคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 13 ครั้ง

1.คณะกรรมการมัสยิด จำนวน 15 คน 2.คณะกรรมตาดีกา จำนวน 15 คน 3.ตัวแทนชุมชน จำนวน 20 คน

1,200.00 1,200.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ให้คัดเลือกสภาชูรอ (สภาชุมชน) จะต้องประกอบด้วย คณะกรรมการมัสยิดจำนวน 10 คน และ คณะกรรมการตาดีกา จำนวน 10 คน รวมเป็น 20 คน ตามรายชื่อประกอบดังนี้
  • นายมูฮัมหมัดอารีฟ โกตาบารู ประธานสภาชูรอ ตำแหน่ง อีหม่าม
  • นายมุสตอฟา มอลอเล๊าะ รองประธานสภาชูรอ ตำแหน่ง คอตีบ
  • นายบาซิเละเตียง ซารอง ประธานสภาชูรอ ตำแหน่ง บีหลั่น
  • นายมาฮามา มอลอเล๊าะ กรรมการ
  • นายสูดิง มอลอเล๊าะ กรรมการ
  • นายมารูวัล ตอเยะ กรรมการ
  • นายลุกมัน มอลอเล๊าะ กรรมการ
  • นายมูหมัดซายูตี ยะสะแต กรรมการ
  • นายมูฮัมมะรูสลัน โกตาบารู กรรมการ
  • นายมะลาเซ็ง เละเตียงซา กรรมการ
  • นายมะสดี ปารามะ กรรมการ
  • นายรอฮาบี เจ๊ะโด กรรมการ
  • นายอามัน อีแต กรรมการ
  • นายมะนูซัน มอลอเล๊าะ กรรมการ
  • นายสูใลมัน สูลง กรรมการ
  • นายซอฟวัน แนแซ กรรมการ
  • นายตัรมีซี ตอเยะ กรรมการ
  • นายกอดาฟี เต็มหลง กรรมการ
  • นายภูมี สะหะโด กรรมการ
  • นายฮารง มอลอเล๊าะ กรรมการ
  • นายอาซีมาน อีแต กรรมการและเลขานุการ

2.ส่วนที่เหลือจากคณะกรรมการสภาชูรอฯให้ดำรงตำแหน่งสนับสนุน

3.การเปิดตัวโครงการมัสยิดสร้างเยาวชนสู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ ที่ประชุมได้กำหนดวันเปิดตัวโครงการฯ ในวันจันทร์ ที่ 21 ธันวาคม 2558 เวลา 09.00 น.

 

0.00 0.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

 

  • คณะกรรมสภาชูรอ 20 คน เยาวชน จำนวน 6 คน
800.00 800.00 20 26 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อสรุปการประชุม

  • คณะทำงานได้ชี้แจง งบประมาณที่ได้ดำเนินการที่ใช้จ่ายในโครงการ และให้แต่ละฝ่ายร่วมเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งสรุุปได้ว่า แต่ละฝ่ายเข้าใจในกิจกรรมที่ผ่านมา แและร่วมกันวางผ่านกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต คือ กิจกรรมจิตอาสา ครั้งที่ 2
  • ที่ประชุมได้เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน คือระบบการระบายน้ำของหมู่บ้านเกิดปัญหา คือ 1.ปัญหาน้ำขัง เนื่องจากน้ำจะขังบนถนน โดยเฉพาะตอนนี้เข้าฤดูฝน และ 2.การพัฒนาบริเวณมัสยิด ที่ประชุมได้ลงมติว่าให้ดำเนินการแก้ปัญหาน้ำขังบนถนน โดยแต่งตั้งคณะทำงานแก้ปัญหาน้ำท่วมถนนผิวจราจรภายในบ้านหน้าที่ดังนี้
  1. ทีมประสานงาน เพื่อขุดลอกให้นำ้ระบายได้สะดวกจะต้องผ่านหน้าบ้านและจะต้องขุดที่ดินของชาวบ้าน จึงต้องมีชุดประสานและขออนุญาตเจ้าของที่เสียก่อน
  2. ทีมประชาสัมพันธ์ มอบหมายให้คณะกรรมการสภาชูรอ ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายหมู่บ้าน
  • ที่ประชุมเห็นด้วยและให้ดำเนินการ เรื่องปัญหาน้ำขัง ก่อน จึงลงมติ
  • เกิดกิจกรรมที่ทำประโยชน์ให้ชุมชนที่อาศัยแรงคนในหมู่บ้านและลดภาระการทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
  • เกิดทีมงานที่เข้มแข็ง และเสียสละ ที่ประกอบด้วยเยาวชนและชาวบ้าน
  • คณะกรรมการจำนวน 20 คน คณะเยาวชนจำนวน 6 คน
800.00 800.00 20 26 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ที่ประชุมมอบหมายการดำเนินกิจกรรมการประชุมให้กรรมการและเลขานุการสรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา และงบประมาณที่ใช้ไปในกิจกรรมต่างๆดังนี้
  • การจัดประชุมจัดตั้งสภาชูรอ งบประมาณ 1200 บาท
  • การเปิดตัวโครงการฯงบประมาณ 12500 บาท
  • การจัดประชุมประจำเดือน 2 คร้้ง งบประมาณ 1600 บาท
  • การจัดกิจกรรมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านสโลว์ปาแต(กิจกรรมของฉัน)7500 บาท
  • และกิจกรรมจิตอาสาจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ ใช้ 800 บาท และครั้งที่ 2 ใช้ 1750 บาท ซึ่งสรุปกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมายตามระบุครอบคลุมแล้ว แต่เราจะขยายการดำเนินการให้เป็นกิจกรรมของชุมชน ครอบคลุมกลุ่มเยาวชนสตรีและผู้สูงอายุในหมู่บ้านได้มาร่วมตัวกัน และการจัดกิจกรรมวันรำลึกถึงประวัติศาสตร์ เนื่องในวันประสูติของท่านศาสดามูฮัมหมัด(ศ็อลฯ) ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นด้วย และให้ดำเนินจัดกิจกรรม โดยแบ่งหน้าที่
  • ประสานงานกับเยาวชนในหมู่บ้านที่ศึกษาอยู่ในสถาบันปอเนาะ เพื่ออ่านบัรสัรยี(ชีวประวัติท่านศาสดา สองภาษา อาหรับกับมลายู)
  • ทีมงานจัดซื้ออาหาร มอบให้คณะกรรมการสภาชูรอ
  • ทีมงานทำข้าวหมกให้กลุ่มแม่บ้าน
  • ทีมงานทำซุปแพะให้กลุ่มเยาวชน
  • ทีมงานเสริฟอาหาร ให้กลุ่มเยาวชน
  • คณะกรรมการสภาฯ จำนวน 20 คน เยาชนจำนวน จำนวน 10 คน
800.00 800.00 20 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การทำงานที่เป็นทีมของแต่ละฝ่าย และมีส่วนร่วมตั้งแต่เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง
  2. เรียนรู้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และสามารถดำเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
  • คณะกรรมการสภาชูรอ จำนวน 20 คน คณะกรรมการเยาวชน จำนวน 5 คน
800.00 800.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.การติดตามโครงการโดยทีมวิทยากรพี่เลี่ยงได้ให้คำแนะนำ การลงทะเบียนในใบรายชื่อจะต้องเขียนที่อยู่ของแต่ละคนไว้
2.การให้คำแนะนำในการกรอกข้อมูลผ่านระบบ ให้ดำเนินการ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ อย่าให้ในระบบขึ้นคำว่า ล่าช้า และผู้รับผิดชอบได้สรุป กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการในงวดที่ 2 และกำหนดวันที่ที่จะต้องดำเนินการ และแบ่งหน้าทีการทำงานในทีมคณะกรรมการสภาชูรอให้ชัดเจนขึ้น

คณะกรรมการสภาชูรอ คณะกรรมการเครือข่ายเยาวชน ชาวบ้าน

800.00 800.00 20 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มแกนนำต่างๆนำเสนอ ผลการปฎิบัติงานของแต่ละฝ่ายในการจัดกิจกรรม กีฬาสัมพันธ์ชุมน แต่ละฝ่ายสรุปมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก และข้อเสนอให้จัดกิจกรรมในรูปแบบนี้ต่อเนื่อง และให้แต่ละกลุ่มสีร่วมประชุมเพื่อให้กิจกรรมจะได้ต่อเนื่อง

คณะกรรมการสภาชูรอและแกนนำเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ

800.00 800.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การสร้างศักยภาพในการดำเนินกิจกรรม ผ่านมติที่ประชุม และการวางแผนเพื่อให้กิจกรรมต่างๆบรรลุตามวัตถุประสงค์

วาระที่ 1 แจ้งเพื่อทราบ

- การดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา ทางโครงการได้ดำเนินกิจกรรมตามปฏิทินโครงการได้อย่างสมบูรณ์ ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้
- ชี้แจงการดำเนินโครงการในเดือนเมษายนที่จะต้องดำเนินกิจกรรม คือ กิจกรรมอาชีพ และอาสาพาชุมชนน่าอยู่

วาระที่ 2 เรื่องสืบเนื่อง

วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา การดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับตามโครงการมัสยิดสร้างเยาวชน สู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ ทางคณะทำงานเห็นควรที่จะดำเนินโครงการฯไปยังหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านเขานา อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ระหว่างวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2559 โดยให้คณะทำงานแจ้งให้สมาชิกเข้าร่วมโครงการตามวันและเวลาดังกล่าว ที่ประชุมเห็นชอบที่จะเข้าร่วมโครงการทัศนศึกษาหมู่บ้านเศรษฐกิจในวันและเวลาดังกล่าว

คณะกรรมการสภาชูรอและแกนนำเยาวชน

800.00 800.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านคน เยาวชนพร้อมอาสาในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชน

คณะกรรมการสภาชูรอและแกนนำเยาวชน กลุ่มแม่บ้านสโลว์ปาแต

800.00 800.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มให้ความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมของโครงการมัสยิดสร้างเยาวชน สู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ ซึ่งสรุปได้ดังนี้

  1. การประกอบอาชีพของคนในชุมชนเขานา ส่วนใหญ่จะมีอาชีพรอง เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อครอบครัว
  2. การให้ความสำคัญในการใช้พื้นที่บริเวณบ้านให้คุ้มค่าที่สุด
  3. การอาศัยหลักการผลิต ใช้ แล้วก็ขาย
  4. การให้ความสำคัญในการประชุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมติการประชุมคือการดำเนินงาน
  5. ร่วมกันเฝ้าระวัง และสอดส่องดูแลชุมชน ให้ห่างไกลอบายมุขและสิ่งเสพติดทั้งปวง และทางคณะกรรมชี้แจง การดำเนินงานของชุมชน คือ จะมีการปลูกตะไคร้ ขิง ตามทางถนน เพื่อลดรายจ่ายของคนในชุมชน ทุกคนสามารถนำไปใช้ได้ และจะร่วมกันปลูก ที่ประชุมเห็นด้วยและจะดำเนินการร่วมกัน

คณะกรรมการสภาชูรอ เยาวชน

800.00 800.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมสภาชุมชนทุกครั้งเพื่อ

  • สร้างความไม่เข้าใจร่วมกัน

  • ดำเนินการจัดกิจกรรมในแนวทางเดียวกัน

  • ชี้แจงและแก้ปัญหาร่วมกัน

คณะกรรมการสภาชูรอ เยาวชนในโครงการ

800.00 800.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการพัฒนาศักยภาพสภาชูรอของชุมชน ซึ่งที่ประชุมได้มีมติกำหนดการการสร้างประตูชัยของหมู่บ้านดังนี้

  1. ได้กำหนดชุดทำงานร่วมกัน 2 ชุด ซื่งจะต้องประกอบด้วย นายช่าง คณะกรรมการ และเยาวชน ร่วมกันประมาณ 20 คน
  2. ให้แต่ละชุดประกอบด้วยหัวหน้า และทีมงาน และร่วมกันทำงานโดยพร้อมเพรียงกัน
  3. ให้เริ่มทำงานหลังละหมาดอีซา เวลา 21.00 น.และให้ได้เหนืองานเห็นแต่สมควรของแต่ละชุด
  4. ที่ประชุมอนุญาติเบิกจ่ายเงินค่าน้ำคืนละ 300 บาท

และประธานฯได้กล่าวปิดการประชุม

คณะกรรมการสภาชูรอ เยาวชนในโครงการ

800.00 800.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ร่วมกันแก้ปัญหาและวางแผนการจัดกิจกรรมในอนาคตของโครงการฯ

  1. การดำเนินกิจกรรมสุดท้าย คือกิจกรรมอาสาพาชุมชนน่าอยู่ครั้งที่ 7 ที่ประชุมได้กำหนดในวันที่ 24 กันยายน 2559
  2. ทางสจรส.และพี่เลี้ยงโครงการฯกำหนดลงพื้นที่ เพื่อจัดเวทีประชาคมในเร็วๆนี้ทางผู้ประสานจะแจ้งอีกคร้ัง
  3. กำหนดสุรปโครงการและปิดโครงการมัสยิดสร้างเยาวชนสู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ ในระหว่างวันที่ 1-2 ตุลาคม 2559 และจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง
  4. หากไม่ได้รับการสนับสนุน สภาชูรอชุมชนสามารถขับเคลือนในการทำงาน และช่วยเหลือชาวบ้านได้เต็มความสามารถ โดยเฉพาะผู้ยากไร้ในชุมชน และการสร้างกลุ่มเครือข่ายเยาวชนเพื่อเติมเต็มชุมชนให้สงบสุข

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเรียนรู้และศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนi

5,500.00 50 ผลผลิต

เยาวชนกลุ่มเสี่ยงในโครงการได้คิดกิจกรรมการเรียนรู้กิจกรรมทางสังคมของชุมชน เช่น การร้องอานาชีด การอ่านบัรซันยี การทำเมาลิด เป็นต้น


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนกลุ่มนี้ได้เรียนรู้คุณค่ากิจกรรมทางสังคมที่ชุมชนมีและทำให้เห็นความพยายามของบรรพบุรุษในการรักษาชุมชนให้อยู่รอดมาจนถึงปัจจุบันโดยใช้ศาสนา

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

1.คณะกรรมการสภาชูรอ 2.เด็กและเยาวชนในชุมชนบ้านสโลว์ปาแต

5,500.00 5,500.00 50 36 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่ได้

  1. เยาวชนได้ร่วมกันแต่งคณะกรรมเยาวชนประจำหมู่บ้าน 1 คณะ ในการขับเคลื่อนตาดีกาและดูแลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ ฝ่ายต่างๆที่ควรมี เช่น ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และอื่นๆ และคณะที่ปรึกษา
  2. เยาวชนพร้อมจะทำงานเพื่อส่วนร่วม และจะดำเนินกิจกรรมที่จะให้เกิดความสามัคคีในชุมชน
  3. การดำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ จะต้องผ่านการประชุม และถกเถียงให้เกิดประโยชน์ และได้ข้อยุติในที่ประชุม
  4. การมีคณะที่ปรึกษา เพื่อต้องการอาศัยประสบการณ์และการดำเนินการแก้ปัญหาของคนในชุมชน
  5. เยาวชนพร้อมจะสร้างสรรค์ชุมชน โดยไม่หวังผลตอบแทน

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การทำสื่อสร้างสรรค์ เยาวชนคนเก่งสโลว์ปาแตi

7,500.00 30 ผลผลิต

มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสามารถให้คณะทำงานและเยาวชนในโครงการสามารถที่จะสร้างสื่อที่สร้างสรรค์ให้กับชุมชน โดยมีการจัดศึกษาดูงาน และการนำวิทยากรจากภายนอกมากอบรมให้ความรู้เรื่องการทำสื่อจากโทรศัพท์สมาทโฟน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนมีทักษะในการทำสื่อและมีแนวทางในการสร้างการเรียนรู้ในระหว่างกลุ่มเยาวชน สามารถสื่อสารสิ่งดีๆในชุมชนให้กับชุมชนอื่นได้ผ่านโซเชี่ยลมีเดีย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

  • คณะกรรมการจำนวน 10 คน เยาวชนจำนวน 24 คน
3,600.00 3,600.00 30 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. การรวมตัวของคนในชุมชนทุกกลุ่มเป้าหมาย
  2. ขยายกลุ่มเป้าหมายของการดำเนินกิจกรรม โดยผ่านกระบวนการดำเนินการของทีมงานคณะกรรมการ กลุ่มแม่บ้าน และเยาวชนของหมู่บ้าน
  3. การแสดงความสามารถของเยาวชนที่ศึกษาในสถาบันต่างๆในการเล่าชีวประวัติ 2 ภาษา
  4. ผู้ปกครองเล็งเห็นความสามารถ และสนับสนุนให้ลูกหลาน ได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  5. การแสดงบทบาทของผู้นำเยาวชน และความสามัคคีของคนในชุมชน

แกนนำเยาวชน

3,900.00 1,000.00 5 16 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ มาปฏิบัติจริงในพื้นที่ และเล่าประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อปรับปรุงภาพกิจกรรม ให้สอดคล้องกับกิจกรรมในโครงการฯ

กลุ่มภาคีเครือข่ายแม่บ้าน

0.00 0.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การบริหารจัดการแบบบูรณาการของชุมชน ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษาของคนในชุมชน ตั้งแต่เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้เรื่องต่างๆดังนี้

  • โมเดลมัสยิดบ้านเหนือ การบริหารจัดการแบบบูรณาการ
  • การสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชน
  • สร้างภูมิคุ้มกันชุมชนด้วย ‘การออม’ ทั้งนี้ทางผู้เข้าร่วมโครงการได้ประสบการณ์การบริหารชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชนต่อไป

กิจกรรมหลัก : กีฬาสานสัมพันธ์ชุมชนi

20,500.00 150 ผลผลิต

มีการจัดกีฬา ชุมชน โดยให้มีการรื้อฟื้นการละเล่นในอดีตให้ผู้ปกครองและเยาวชนได้เล่นด้วยกัน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สร้างความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ปกครอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการประกอบด้วย

  1. เด็กนักเรียนตาดีกาอิสลาฮุดดีน และผู้ปกครองนักเรียน
  2. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์อิสลาฮุดดีน
  3. ชาวบ้านในหมู่บ้านสโลว์ปาแต จำนวน 150 คน
20,500.00 20,500.00 150 160 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การจัดกิจกรรมของทางโครงการมัสยิดสร้างเยาวชน สู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ ทำให้กลุ่มเป้าหมาย

  1. เกิดความรัก ความสามัคคี ของคนในชุมชน

  2. เกิดพลัง ความมุ่งมั่น ของเยาวชน และชาวบ้านในชุมชน เพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกัน

  3. ทุกๆคนให้ความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรม ตั้งแต่การวางแผน การประชุม การดำเนินกิจกรรม และการสรุปผลกิจกรรม

  4. โครงการมัสยิดสร้างเยาวชน สู่ชุมชนสโลว์ปาแตน่าอยู่ คือ จุดเริ่มต้น ที่สร้างความเป็นหนึ่งเดี่ยว ของคนในชุมชน ที่จะนำพากิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย และความสามัคคีของคนในชุมชน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีการทำงานเป็นทีม

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คณะทำงานมีทักษะจากการอบรมมากขึ้น แต่เป็นรายคนไม่ใช่ทุกคนในคณะทำงาน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การดำเนินงานตามแผน แต่มีหลายกิจกรรมไม่บรรลุตามผลลัพธ์ที่วางไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีเจ้าหน้าที่การเงินป้อนข้อมูลในระบบ แต่ไม่ค่อยถูกต้อง

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีความชัดเจน แต่มีความผิดพลาดเล็กน้อย

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงิน ไม่ค่อยเรียบร้อย ในส่วนของเอกสารการลงทะเบียน ข้อมูลไม่ครบ

ผลรวม 0 0 5 0
ผลรวมทั้งหมด 5 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

การทำงานเป็นไปตามเป้าหมาย มีบางกิจกรรมที่อาจไม่ตรงเป้าหมายบ้าง แต่ทางคณะทำงานก็รับไปแก้ไขแล้วตามคำแนะนำ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การนำคณะทำงานมาร่วมเป็นตัวขับเคลื่อน ควรจะนำบัณฑิตอาสาในชุมชนเข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการจัดการ เพราะเป็นคนที่มีศักยภาพอยู่แล้วและมีการทำงานร่วมกับผู้นำชุมชน ู

สร้างรายงานโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์