แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03822
สัญญาเลขที่ 58-00-2209

ชื่อโครงการ รวมพลังสร้างสุขภาพบ้านศาลาไม้ไผ่(ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 58-03822 สัญญาเลขที่ 58-00-2209
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายประเทือง อมรวิริยะชัย
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 25 มิถุนายน 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 สิงหาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นาง ศุภกร หมวดมณี บ้านเลขที่ 205/1 หมู่ที่ 8 ตรอก/ซอยถนนตำบล/แขวง ท่าแค อำเภอ/เขต เมือง จังหวัด พัทลุง รหัสไปรษณีย์ 93000 086-2886772
2 นาย กฤษกรมาตีด บ้้านเลขที่ 35 หมู่ที่ 8 ตรอก/ซอยถนนตำบล/แขวง ท่าแค อำเภอ/เขต เมือง จังหวัด พัทลุง รหัสไปรษณีย์ 93000 086-2951469

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคอ้วน

1.คนอ้วนมีรอบเอวลดลงจาก 100 คน ลดลงได้ 80 คน

2.

เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักในผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน

  1. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80
  2. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม จำนวน 6 ครั้ง
  3. มีท่าทางการออกกำลังกายสำหรับคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงตามวัยต่างๆ 1 ชุด

3.

เพื่อส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้เอื้อต่อการแก้ปัญหาโรคอ้วน

  1. มีแปลงผักรวม จำนวน 2 แห่ง
  2. มีผักสวนครัวรั้วกินได้60 หลังคาเรือน
  3. มีกลุ่มทำปุ๋ยใช้เอง จำนวน 1 กลุ่ม
  4. มีเมนูอาหารสุขภาพที่เป็นนวัตกรรม 1 อย่าง
  5. มีมาตรการทางสังคม เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เรื่อง
    o มาตรการการทำอาหารลดหวาน มัน เค็ม ในงานของหมู่บ้าน
  6. มีร้านค้าหรือตลาดผักปลอดสารพิษ 1 แห่ง
  7. มีกลุ่มหรือชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม
  8. มีกลุ่มคนอ้วนและกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนกินผักผลไม้ในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  9. มีกลุ่มคนอ้วนและกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนมีการออกกำลังกายเป็นประจำ

4.

เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนให้มีศักยภาพมากขึ้น

  1. สภาผู้นำชุมชนมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
  2. มีแผนชุมชน จำนวน 1 แผน
  3. สมาชิกสภาผู้นำของชุมชนมีส่วนรวมในการประชุม ร้อยละ 80(ทั้งหมด 20 คน)
  4. มีการปรึกษาหารือ ติดตามงานเก็บข้อมูล แก้ไข้ปัญหา ประเมินผล และคุยปัญหาอย่างหลากหลาย

5.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วน เรียนรู้การทำปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพเพื่อใช้แทนปุ๋ยเคมีในการปลูกผักเพื่อปลอดสารเคมี โดยปราชญ์ของชุมชนi

7,200.00 60 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 60 คน เรียนรู้การทำปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพเพื่อใช่เเทนปุ๋ยเคมีในการปลูกผักปลอดสารเคมี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านได้นำปุ้ยชีวภาพไปใสในผัก ผลไม้ เพื่อให้ดีต่อสุขคนและดิน และนำไปขายเมื่อได้ผลดีเกิดรายได้ขึ้นได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

วัยทำงาน 60 คน

7,200.00 7,200.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การทำปุ๋ยผลิตหมัก โดยการนำเอาเศษผัก ผลไม้ ที่เน่าเสีย นำมาทำ ปุ้ยหมักชีวภาพเพื่อให้ชาวบ้านได้นำปุ้ยชีวภาพไปใสในผัก ผลไม้ เพื่อให้ดีต่อสุขคนและดิน และนำไปขายเมื่อได้ผลดีเกิดรายได้ขึ้นได้

กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วนและในแปลงสาธิตในชุมชนและในโรงเรียนi

7,250.00 90 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  1. ในการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วนและในแปลงสาธิตในชุมชนและในโรงเรียน โดยการให้ะนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพไว้กินเองไว้ทำอาหารตอนกลางวัน และการนำวิธีการสาธิตจากการปลุกผักที่โรงเรียนไปปลุกที่บ้านเพื่อช่วยส่งเสริมให้มีรายได้และสุภาพดีในครัวเรือน

  2. เกิดการขยายผลสู่โรงเรียนบ้านไสถั่ว

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กวัยเรียนวัยทำงาน 60 คน

7,250.00 7,250.00 90 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ในการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วนและในแปลงสาธิตในชุมชนและในโรงเรียน โดยการให้ะนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพไว้กินเองไว้ทำอาหารตอนกลางวัน และการนำวิธีการสาธิตจากการปลุกผักที่โรงเรียนไปปลุกที่บ้านเพื่อช่วยส่งเสริมให้มีรายได้และสุภาพดีในครัวเรือน

  • เกิดการขยายผลสู่โรงเรียนบ้านไสถั่ว

กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ดไข่ ไว้บริโภคและเรียนรู้การแปรรูปไข่ของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วนi

11,700.00 60 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านสามารถนำความรู้ไปใช่ในการทำที่บ้านได้ สารถนำไข่ไก่ ไข่เป็ดที่ได้มานำไปบริโภคเองได้ เเละยังสารถนำไปจำหน่ายในตลาดชุมชนเพื่อที่จะเป็นรายได้เสริมให้กับครบครัวได้อีกด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

วัยทำงาน 60 คน

11,700.00 11,700.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านสามารถนำความรู้ไปใช่ในการทำที่บ้านได้ สารถนำไข่ไก่ ไข่เป็ดที่ได้มานำไปบริโภคเองได้ เเละยังสารถนำไปจำหน่ายในตลาดชุมชนเพื่อที่จะเป็นรายได้เสริมให้กับครบครัวได้อีกด้วย

กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมให้มีตลาดปลอดภัยในชุมชน ทุก วันอังคารi

6,500.00 30 ผลผลิต

เด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  1. เด็กนักเรียนสามารถทดสอบสารปนเปื้อนในการบริโภคอาหารต่อสุขภาพและได้นำความรู้จาการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารไปแนะนำให้ชาวบ้านได้มีความรู้ก่อนที่จะบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อน

  2. ได้จัดให้มีตลาดนัดเพื่อสุขภาพในชุมชน จัดให้มีมุมสำหรับนำผักปลอดสารพิษมาวางขาย เเละเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ เเละไข่เป็ด ไข่ไก่ที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนมาวางขาย โดยผ่านการตรวจสารปนเปื้อน ตรวจสอบคุณภาพเเละรับรองโดยจากคณะกรรมการของหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เด็กนักเรียนและชาวบ้านนได้นำผักผลไม้ปลอดสารพิษและอื่นๆไปขายในตลาดนัดสุขภาพ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กวัยเรียน 20 คน วัยทำงาน 10 คน

6,500.00 6,500.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เด็กนักเรียนสามารถทดสอบสารปนเปื้อนในการบริโภคอาหารต่อสุขภาพและได้นำความรู้จาการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารไปแนะนำให้ชาวบ้านได้มีความรู้ก่อนที่จะบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อน
2.ได้จัดให้มีตลาดนัดเพื่อสุขภาพในชุมชน จัดให้มีมุมสำหรับนำผักปลอดสารพิษมาวางขาย เเละเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ เเละไข่เป็ด ไข่ไก่ที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนมาวางขาย โดยผ่านการตรวจสารปนเปื้อน ตรวจสอบคุณภาพเเละรับรองโดยจากคณะกรรมการของหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เด็กนักเรียนและชาวบ้านนได้นำผักผลไม้ปลอดสารพิษและอื่นๆไปขายในตลาดนัดสุขภาพ

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำชุมชน อย่างต่อเนื่องทุกเดือนi

5,000.00 20 ผลผลิต

ประชุมสภาผู้นำทุกเดือน มีผู้เข้าร่วมจำนวน 20 คนทุกครั้งที่จัดประชุม คิดเป้็นร้อยละ 100


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดการวางแผน สรุปกิจกรรม และประชุมวาระหมู่บ้านร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

วัยทำงาน 16 คน ผู้สูงอายุ 4 คน รวม 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชุมสภาผู้นำ
    • โครงการสานมือรวมพลังสร้างสุขภาพ บ้านศาลาไม้ไผ่ (ต่อเนื่อง) เน้นคณะกรรมการในหมู่บ้าน ให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง และเน้นคณะกรรมการต้องเป็นคนเดิม ทั้งหมด 20 คน ต้องมาประชุมการทุกเดือน
    • มีแผนชุมชน
  2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    • ตามโครงการศึกษาดูงาน ต่างจังหวัด
  3. ส่งเสริมการออกกำลังกาย
    • ออกกำลังกายแบบโยคะ
    • ออกกำลังกายแบบแอโรบิด
    • ออกกำลังกายแบบรำวงบิด
  4. ส่งเสริมเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
  5. เรียนรู้เรื่องปุ๋ย
    • น้ำหมักชีวภาพ ให้แกประชาชนในหมู่บ้านและเด็กนักเรียน

6.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในหมู่บ้านและในโรงเรียน

  1. ส่งเสริมอาชีพ
    • เลี้ยงไก่
    • เลี้ยงเป็ด จะมีการแรรูป จากการเลี้ยงไก่ เลี้ยงเป็ด และมีตลาดนัดปลอดสารพิษ จะนำเยาว์ชนมาร่วมกิจกรรมในการทดสอบผักปลอดสารพิษ

8.ส่งเสริมตลาดนัดสุขภาพ - นำผักที่ปลูกเองปลอดสารพิษนำมาขายในตลาดนัด - นำไข่ ไข่เป็ดหรือที่แรรูปแล้ว นำมาขายในตลาดนัด

มอบหมายหน้าที่ปฏิบัติงานในวันเปิดตัวโครงการสานมือรวมพลังสร้างสุขภาพ บ้านศาลาไม้ไผ่ (ต่อเนื่อง)

วัยทำงาน 16 คน ผู้อายุ 4 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการประชุม

1.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนอ้วนเปลี่ยนพฤติกรรมการกินโดยใช่วิธีการ ชั่งน้ำหนัก วัดสวนสูง วัดรอบเอว วัดความดัน และมีสมุดประจำตัวของแต่ละคนให้ จำนวน 60 คน วัด 6 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง
2.ส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำวงบิด โดยใช่รำกลองยาว
3.มีวิทยากรกลองยาวแบบรำวงบิด

4.ให้มีวิทยากรเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขให้ความรู้เกี่ยวการปรับเปลี่ยนความรู้พฤติกรรมการกินและการออกกำลังกายด้วย

5.ของบประมาณจากเทศบาลร่วมซื้ออุปกรณ์กลองยาว

วัยทำงาน 16 คน
ผู้สูงอายุ 4 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมสภา สรุปว่า

  1. ประชุมให้มีกลุ่มการออกกำลังกายแบบแอโรบิกโยคะและแบบแอโรบิกแบบผสมผสานกับกลองยาว
  2. ตกลงกฏกติกานัดเวลาซ้อมการออกกำลังกายแบบแอโรบิกโยคะ เวลา 16.00 น. ของทุกวันในช่วงเย็น และแบบรำวงบิคโดยใช้กลองยาว ในเวลา 17.00 น.ุทุกวัน โดยจะออกกำลังกายแอโรบิคก่อนและตามด้วยรำวง ซึ่งจะมีวิทยากรจาก รพสต.บ้านปลวกร้อน และลุงเจิม มานำเต้น

วัยทำงาน 16 คน ผู้สูงอายุ 4 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีการประชุมคนะกรรมการให้คิดค้นการทำน้ำสมุนไพร เมนูอาหารเพื่อสุขภาพ น้ำแร่เพื่อสุขภาพ ซึ่งทำจากผักผลไม้ที่มีในครัวเรือนและให้ชาวได้มีรายได้เสริมจากการทำน้ำสมุนไพร เมนูอาหารเพื่อสุขภาพ น้ำแร่เพื่อสุขภาพ

วัยทำงาน 16 คน ผู้สูงอายุ 4 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

• มีการประชุมคนะกรรมการโดยกำหนดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักน้ำและหมักแห้ง โดยมอบหมายให้แต่ละคนได้หาวัสดุทำปุ๋ยหมักแห้ง และหมักน้ำ เช่นฟางข้าว สับปะรด และกำหนดจัดกิจกรรมนี้ในกลุ่มโรคเรื้อรังในเดือนถัดไป ที่ศาลาหมู่บ้าน

คณะกรรมการ และ ผู้สูงอายุ 20คน

500.00 500.00 20 24 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำให้ชาวบ้านในชุมชนสามารถนำความรู้ต่างๆไปใช่ในการปลูกผัก สารถนำผักไปบริโภคเอง หรือนำผักที่เหลือไปจำหน่ายในตลาด เพื่อเป็นรายได้เสริมของชาวบ้านนั้นๆ

คณะกรรมการ

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ประชุมเตรียมการทำกิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ดไข่ ไว้บริโภคและเรียนรู้การแปรรูปไข่ของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนและคนอ้วน ในวันที่ 9 เมษายน 2559 โดยจะทำเป็นไข่เค็มสมุนไพร เพื่อฝึกทักษะให้กับเด็กเยาวชน และเป็นนวัตกรรมในการทำไข่เค็มสุขภาพ

คณะกรรมการ 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชุมพูดคุยเรื่องผักที่จะนำไปวางขาย เนื้อสัตว์ ไข่ไก่ ซึ่งมีเพียงพอในการนำไปจำหน่าย

วัยทำงาน 16 คน ผู้สูงอายุ 4 คน
รวม 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีแผนชุมชน ประกอบด้วย หอกระจายข่าว การก่อสร้างถนนในหมู่บ้าน และลานออกกำลังกายในหมู่บ้าน และการกำจัดลูกน้ำยุงลายในหมู่้บ้าน

2.มีสภาผู้นำชุมชน

3.มีการชุมชนทุกเดือน

4.มีการติดตามประเมินผล

คณะกรรมการ 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำข้อสรุปที่ประชุมไปปฏิบัติในกิกรรมต่อไป คือ กิจกรรมประชาคมหมู่บ้าน มีการเตรียมข้อมูลและคนที่จะประสานให้เข้ามาร่วมเวที

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.จำนวน 1 ครั้ง คือ กิจกรรมสังเคราะห์ผลการทำโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้ความรู้เรื่องการจัดทำโครงการชุมชนน่าอยู่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ และจนท.บันทึกข้อมูล

2,000.00 1,636.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้บันทึกข้อมูลรายละเอียดโครงการที่วิทยากรแนะนำ และเข้าใจว่าข้อมูลในเวบไซต์กับข้อมูลในเอกสารต้องตรงกัน
  • ได้รับรู้การบันทึกการทำรายงานการเงิน
  • การบันทึกกิจกรรมปฏิทินโครงการเสร็จและวางแผนกำหนดการทำกิจกรรมได้

พี่เลี้ยงโครงการ

0.00 0.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วิทยากรได้บรรยายการทำรายงาน การเงิน การบันทึกข้อมูลในเวปไซต ทุกโครงการได้ลงรายเลียดข้อมูลในเวปไซต์ ลงปฏิทินกิจกรรมของโครงการ

จำนวน 2 คน

500.00 368.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบถึงรายละเอียดวิธีการเขียนรายอย่างถูกต้องและการทำบันทึกทางการเงิน มีเอกสารหลายรายการต้องแก้ไข การเขียนใบสำคัญรับเงินให้ถูกต้อง และเข้าใจการจ่ายภาษี

จนท.การเงิน ผู้รับผิดชอบโครงการ

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้คืนเงินค่าเปิดบัญชีในสมุดธนาคาร 500 บาท

ผู้รับผิดชอบโครงการและการเงินโครงการ

500.00 368.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำเอกสารการเงินให้ถูกต้องและเพิ่มข้อมูลรายงานในเว็บไซต์

  • ผู้รับผิดชอบโครงการและการเงินโครงการ
1,500.00 760.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำเอกสารใบสำคัญรับเงิน ยังเขียนไม่ถูกต้องในหลายรายการ ได้ดำเนินการแก้ไขจนถูกต้อง และเพิ่มข้อมูลรายงานกิจกรรมในเวบไซต์ จนสามารถส่งรายงานความก้าวหน้าให้ สสส.ได้
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. คณะกรรมการทำงาน
500.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงได้ดำเนินการตรวจสอบเอกสารการดำเนินงานตามโครงการ มีข้อแนะนำให้แก้ไขเอกสารการเงิน และให้เพิ่มข้อมูลรายงานในเว็บไซต์

1.ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน 2.คณะการทำงาน 1 คน

4,000.00 2,300.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมประชุม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ทราบแนวคิดการดำเนินงานกับชุมชนต้นแบบดีเด่น
  2. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แนวคิดเพื่อนำไปพัฒนา ต่อยอดการดำเนินกิจกรรมโครงการต่อไป ได้เพิ่มเครือข่ายการดำเนินงานชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง
  3. ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานสร้างสุขคนใต้
  4. ได้รับความรู้ในการทำงานเพื่อสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ทั้งด้านแนวคิด และวิธีการ
  5. ได้เรียนรู้นวัตกรรมต่าง ๆ ของโครงการที่มานำเสนอผลงานในรูปแบบนิทรรศการ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชุมชนของตนเองได้
  6. ได้เรียนรู้ข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานในภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุมชนให้น่าอยู่ เช่น สสส./ สช./ สปสช. เป็นต้น
  7. เกิดเครือข่ายในการทำงานเพื่อส่วนรวม สนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่ม เกิดการแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และกำลังใจให้แก่กันเมื่อเกิดอุปสรรคและปัญหา
  8. มีความรู้สึกภาคภูมิใจ และมีกำลังใจในการพัฒนาชุมชนของตนเองให้น่าอยู่ต่อไป
  9. เกิดสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมพี่เลี้ยงของโครงการ และทีมงานในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. คณะกรรมการทำงาน
1,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.รวบรวมผลการดำเนินงานตามโครงการ 2.ตรวจสอบความเรียบร้อยของโครงการในกิจกรรมต่างๆและเอกสารทางการเงิน 3.จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานนำเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

ผู้้รับผิดชอบโครงการ จนท.การเงิน และคณะทำงาน

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ตรวจสอบกิจกรรมและการรายงานผลบนเวปไซต์ และตรวจสอบหลักฐานการเงินเรียบร้อยดีครบถ้วน

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. คณะกรรมการทำงาน
500.00 300.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจสอบการจัดทำรายงานให้สมบรูณ์ถูกต้อง เพื่อส่งรายงาน สสส. ต้องปรับแก้เอกสารการเงินในหลายกิจกรรม และยังไม่สามารถส่งรายงานให้ สสส.ได้ในวันนี้ ต้องปรับแก้เอกสารการเงินให้ถูกต้องก่อน

ผู้รับผิดชอบโครงการ จนท.การเงิน และคณะทำงาน

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ตรวจสอบกิจกรรมและการรายงานผลบนเวปไซต์ และตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน เรียบร้อยครบถ้วน และได้จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีทีมจัดทำรายงาน ประสานกิจกรรม และเจ้าหน้าทีการเงินที่ชัดเจน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทีมมีศักยภาพในการประสานงานร่วมกับเครือข่าย

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

เกิดผลสำเร็จตามแผน

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ทีมมีการประชุมทุกเดือนเพื่อสรุปและวางแผนการทำกิจกรรม

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้จ่ายเงินตามแผน

2.3 หลักฐานการเงิน

ถูกต้อง

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

ดำเนินงานตามแผน

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

เกิดทีมสภาผู้นำชุมชนจำนวน 20 คน มีการประชุมทกเดือน มีการสรุปผลการทำกิจกรรมทุกเดือน กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 เกิดตลาดนัดสุขภาพชุมชน

สร้างรายงานโดย ประเทือง