directions_run

สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10)

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมเตรียมงานสร้างห้องย่อยทั้งหมด15 ธันวาคม 2560
15
ธันวาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุไหลหมาน เบ็ญดูสะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เครือข่ายสื่อภาคใต้
  • เครือข่ายชุมชนน่าอยู่
  • เครือข่ายอาหาร
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เครือข่ายสื่อภาคใต้
  • เครือข่ายชุมชนน่าอยู่
  • เครือข่ายอาหาร
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

-

จัดทำโพสเตอร์ประชาสัมพันธ์งานประชุมวิชาการ30 พฤศจิกายน 2560
30
พฤศจิกายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุไหลหมาน เบ็ญดูสะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชาสัมพันธ์งานในรูปแบบโพสเตอร์ และประชาสัมพันธ์ออนไลน์ผ่านเฟสบุก อีเมล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

ประชุมเครือข่ายเตรียมงานสร้างสุข ครั้งที่ 312 ตุลาคม 2560
12
ตุลาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
ประชุมครั้งที่ 2 ปรับปรุงแก้ไขหัวข้อวิจัยที่เปิดรับและรายงานความก้าวหน้าเว็บไซต์ประชุมวิชาการ4 ตุลาคม 2560
4
ตุลาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุไหลหมาน เบ็ญดูสะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมชี้แจงรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ
  • รายงานความก้าวหน้าการจัดทำเว็บไซต์ประชุมวิชาการ
  • แก้ไขวันที่กำหนดการ โดยขยายเวลารับบทความจนถึงวันที่ 15 สิงหาคม - 10 พฤศจิกายน 2560
  • กำหนดรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมชี้แจงรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ

อ.ซอฟียะห์ กล่าวชี้แจงหัวข้อวิจัยที่เปิดรับและกำหนดชื่อ Theme รูปแบบของงานประชุมวิชาการ โดยกำหนดชื่อคือ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 "สู่สุขภาพที่ยั่งยืนและการขับเคลื่อนไร้ขีดจำกัด" "Contribution to Sustainable Health and Movement beyonnd Boders" สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปีนี้นอกจากรับบทความวิชาการและงานวิจัยแล้วยังได้เปิดรับบทความกึ่งวิชาการ สำหรับเครือข่ายสุขภาพ โดยมีรายละเอียดผลงานที่เปิดรับ ดังนี้

1.บทความวิชาการและงานวิจัย (สำหรับนักวิจัย นักวิชาการ และบัณฑิตศึกษา)
1) ด้านระบบบริการสุขภาพ (Health Service System) และนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy)
2) ด้านการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (Community Health System Management)
3) ด้านการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment)
4) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Sciences) ทั้งวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์

2.บทความกึ่งวิชาการ (สำหรับเครือข่ายสุขภาพ) โดยเนื้อหาการดำเนินงานแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบต่อไปนี้
1) การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ ด้านการจัดการสุขภาพ
2) เป็นแหล่งเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ และชุดประสบการณ์ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงในพื้นที่
3) การสังเคราะห์ทางวิชาการ เพื่อการขยายผลในระดับนโยบาย
4) การขยายเครือข่ายการเรียนรู้ และสร้างกระบวนการสร้างสุขภาวะชุมชนแบบมีส่วนร่วม

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 4 คน
ประกอบด้วย

ทีมประชุมวิชาการประกอบด้วย

  1. ดร.ซอฟียะห์ นิมะ
  2. น.ส.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์
  3. นางดรุณี สุวรรณชวลิต
  4. นายสุไหลหมาน เบ็ญดูสะ
ประชุมปรึกษาหารือห้องประชุมวิชาการครั้งที่ 128 กันยายน 2560
28
กันยายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุไหลหมาน เบ็ญดูสะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ
  • เตรียมข้อมูลสำหรับประชาสัมพันธ์งาน
  • กำหนดชื่อ Theme ของงาน
  • ออกแบบกำหนดการเปิดรับผลงานวิชการ
  • ปรึกษาหารือรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ 
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชุมรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ กำหนดหัวข้อวิจัยที่จะเปิดรับ
  • เตรียมข้อมูลสำหรับประชาสัมพันธ์งาน ออกแบบสื่อโพสเตอร์ประชาสัมพันธ์ จัดทำเว็บไซต์ประชุมงานวิชาการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ Facebook เว็บประชาสัมพันธ์ ม.อ.
  • กำหนดชื่อ Theme ของงาน กำหนดชื่อรูปแบบของงานคือ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 "สู่สุขภาพที่ยั่งยืนและการขับเคลื่อนไร้ขีดจำกัด" "Contribution to Sustainable Health and Movement beyonnd Boders"
  • ออกแบบกำหนดการเปิดรับผลงานวิชการ กำหนดวันที่จะเปิดรับบทความ

เปิดรับการลงทะเบียนเพื่อส่งบทคัดย่อทางเว็บไซต์ 15 สิงหาคม – 15 มกราคม 2561

แจ้งผลการพิจารณาบทคัดย่อทางเว็บไซต์ 20 มกราคม 2561

กำหนดส่งบทคัดย่อที่ปรับแก้แล้ว และบทความฉบับสมบูรณ์ 25 มกราคม 2561

แจ้งผลการพิจารณาบทความฉบับสมบูรณ์เพื่อแก้ไข 12 กุมภาพันธ์ 2561

กำหนดส่งบทความฉบับสมบูรณ์ที่ปรับแก้แล้วเป็นครั้งสุดท้าย 28 กุมภาพันธ์ 2561

กำหนดส่งไฟล์นำเสนอ 25 มีนาคม 2561

กำหนดการนำเสนอบทความวิชาการ 28 มีนาคม 2561

  • ปรึกษาหารือรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

กำหนดรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 4 คน
ประกอบด้วย

-

ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 ครั้งที่ 214 กันยายน 2560
14
กันยายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 08.30 – 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ ภาพรวมการจัดงาน “สานงาน เสริมพลัง วาระสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561”
  • 09.30 – 10.00 น. สรุปการประชุม “สานงาน เสริมพลังที่ จ.นครศรีธรรมราช”
  • 10.00 – 12.00 น.รูปแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 ทบทวนข้อเสนอเชิงนโยบายจากห้องย่อยงานสร้างสุขปี 2559 และสถานการณ์ขับเคลื่อนงาน เสริมพลังในแต่ละประเด็น
  1. ระบบอาหาร : ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการ
  2. การจัดการปัจจัยเสี่ยง : เหล้า บุหรี่ สารเสพติด
  3. สุขภาวะ เด็ก เยาวชน และครอบครัว
  4. การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยวชุมชน
  5. การจัดการภัยพิบัติ
  6. ความมั่นคงทางสุขภาพ : กองทุนตำบล เขตสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) เขตสุขภาพเพื่อประชาชน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปรูปแบบ และประเด็นขับเคลื่อนในงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 (1) รูปแบบงานสร้างสุข 1. เสวนา – สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน
2. การขับเคลื่อนวิกฤตภาคใต้ 10 ประเด็น 3. การประชุมวิชาการ
4. งานวิชาการนโยบายสาธารณะ 4P-W 5. ลานเสวนา และนิทรรศการ 6. เวทีสื่อสารสาธารณะ - จริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม 7. ห้องเรียนปฏิบัติการ (Workshop) เรื่อง ระบบการจัดการฐานข้อมูล และเครื่องมือธรรมนูญ HIA / ธรรมนูญสุขภาพ / 4PW
8. ก้าวข้ามสู่เครือข่ายสุขภาวะในอาเซี่ยน

(2) ประเด็นขับเคลื่อนวิกฤตภาคใต้ มี 8 ประเด็น ประเด็น  ผู้รับผิดชอบ เวลา 1. เกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ เรื่องอาหารและโภชนาการ อ.สมคิด ทองสม ห้อง 1-2 (เช้า-บ่าย) 2. การจัดการปัจจัยเสี่ยง นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ห้อง 7 (เช้า) 3.เรื่องเด็กเยาวชนและครอบครัว นายฮาริส มาศชาย ห้อง 3-4 (เช้า-บ่าย) 4. เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว นายเชภาดร จันทร์หอม ห้อง 5-6 (เช้า-บ่าย) 5. การจัดการภัยพิบัติ นายไมตรี จงไกรจักร ห้อง 8 (บ่าย) 6. ความมั่นคงทางสุขภาพ เรื่อง DHB/เขตสุขภาพเพื่อประชาชน /4PW ดร.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย นายจารึก ไชยรักษ์ 10-11 (เช้า-บ่าย) 7. จริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม นายอานนท์ มีศรี ลานสร้างสุข 8. สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม นายอิลฟาน ตอแลมา ห้อง 11 (เช้า) 9. ***ลานชุมชนน่าอยู่ นายไพฑูรย์ ทองสม/นางกำไล สมรักษ์ ลานสร้างสุข

(3) กรอบการทำงาน (timeline) ในช่วงระยะเวลา 6 เดือน (ตุลาคม 2560 – กุมภาพันธ์ 2561) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ทบทวนข้อเสนอจากงานสร้างสุขปี 59 2. วางแผนขับเคลื่อนในแต่ละประเด็น มีการเสริมพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่าย โดย สจรส.ม.อ. 3. ขับเคลื่อนงานตามประเด็น และใช้สื่อสารสาธารณะ 4. สังเคราะห์บทเรียน จัดทำเอกสารเผยแพร่ 5. แลกเปลี่ยนนำเสนอในงานสร้างสุขภาคใต้ (4) การสนับสนุนงบประมาณ - สนับสนุนห้องย่อยในวันงานสร้างสุขห้องย่อยละไม่เกิน 10,000 บาท - สนับสนุนกระบวนการทำข้อมูลประเด็นละไม่เกิน 100,000 บาท - เครือข่ายไหนก็สนับสนุนค่าเดินทางในแต่ละเครือข่าย

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
  1. อาจารย์และบุคลากร สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  2. เทศบาลตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
  3. สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา
  4. เทศบาลตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
  5. วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาแขตพัทลุง
  6. สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  7. เครือข่ายธนาคารต้นไม้ จังหวัดชุมพร
  8. สมาคมชาวสวนยาง 16 จังหวัดภาคใต้
  9. เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนบน
  10. สำนักงานประชาสังคมงดเหล้าจังหวัดปัตตานี
  11. ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง
  12. เครือข่ายองค์กรงดเหล้าจังหวัดชุมพร
  13. เครือข่ายองค์กรงดเหล้าจังหวัดสงขลา
  14. กลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  15. เครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  16. เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์จังหวัดตรังและกระบี่
  17. เครือข่ายเฝ้าระวังภัยพิบัติจังหวัดพังงา
  18. สำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
  19. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
  20. เครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดระนอง
  21. ศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดสตูล
  22. สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  23. สมาคมประชาสังคมจังหวัดชุมพร
  24. ศูนย์ประสานงานเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 11
  25. โครงการชุมชนน่าอยู่ภาคใต้ และโครงการครอบครัวอบอุ่นภาคใต้
  26. สมาคมจันทร์เสี้ยวภาคใต้
  27. คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  28. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
  29. สถานวิจัยการจัดการท่องเที่ยวฯ
  30. มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
  31. สมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  32. มูลนิธิ SCCERN