directions_run

ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด ”

สนามโรงเรียนบ้านตะบิงตีงี หมู่ที่ ๓ ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายซุลกิฟลี ฮัจญีฮารูน

ชื่อโครงการ ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด

ที่อยู่ สนามโรงเรียนบ้านตะบิงตีงี หมู่ที่ ๓ ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2017 ถึง 31 ธันวาคม 2017


กิตติกรรมประกาศ

"ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สนามโรงเรียนบ้านตะบิงตีงี หมู่ที่ ๓ ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด



บทคัดย่อ

โครงการ " ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด " ดำเนินการในพื้นที่ สนามโรงเรียนบ้านตะบิงตีงี หมู่ที่ ๓ ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2017 - 31 ธันวาคม 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 249,580.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 630 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเพณีการกวนข้าวอาซูรอ (ขนมอาซูรอ) เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ คำว่า อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า การผสม การรวมกัน คือการนำสิ่งของที่รับประทานได้หลายสิ่งหลายอย่างมากวนรวมกัน มีทั้งชนิดคาวและหวาน การกวนข้าวอาซูรอจะใช้คนในหมู่บ้านมาช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่อความสามัคคีและสร้างความพร้อมเพรียงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน อันมีผลต่อการอยู่ร่วมกันของสังคมอย่างมีความสุข วัฒนธรรมการละเล่นกีฬาพื้นเมือง ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมและสร้างคุณลักษณะสนุกสนาน สมัครสามัคคี และเข้าใจดีต่อกันได้อย่างแท้จริง เนื่องจากลักษณะการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทย มิได้มุ่งเน้นความเป็นเลิศเชิงทักษะกีฬามาก อย่างเช่นกีฬาสากลทั่วไป โอกาสในการปะทะ เกิดปัญหา หรือข้อโต้แย้งจึงแทบจะไม่มี แม้จะเป็นการแข่งขัน แต่รูปแบบและลักษณะของการแข่งขันในกีฬาพื้นเมืองไทย จะแฝงด้วยขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม วิถีชีวิตความเป็นไทย สิ่งแวดล้อมที่อยู่ในท้องถิ่น มีความเป็นท้องถิ่นนิยมอยู่มาก ประกอบกับลักษณะการเล่นเชิงแข่งขันของกีฬาพื้นเมืองไทยในอดีต มักจะจัดให้มีความสนุกสนานในงานกวนอาสูรอ และงานขึ้นปีใหม่อิสลาม วัฒนธรรมการขับร้องอนาซีด ( Anasyid) ถือว่าเป็นหนึ่งของวัฒนธรรมอิสลาม เป็นการขับร้องบทเพลงที่เกี่ยวกับการศรัทธา การทำความดี เช่น การเป็นมุสลิมที่ดี การเป็นลูกที่ดีของบิดามารดา การเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ส่งเสริมการให้ความรักต่อกัน แต่ไม่ใช้ความรักในเชิงการชู้สาว จะพบว่า บทเพลงอนาชีดคือบทเพลงส่งเสริมให้ทุกคนทำความดีต่อทุกสิ่งที่พระผู้เป็นได้ สรรค์สร้างขึ้น ในจักรวาลนี้ อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม ของท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบไป บทเพลงอนาชีด เป็นบทเพลงที่มุสลิมทั่วโลกใช้ในการขับร้อง ปัจจุบันประเพณีการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด ค่อยๆสูญหายจากชุมชน คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยให้ความสนใจและซึมสับกับประเพณีวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สืบถอดเป็นเวลามาช้านาน และไม่ค่อยให้ความสำคัญกิจกรรมแต่ละประเพณี ไม่คิดเพื่อการสืบถอดให้กับคนรุ่นหลัง และหันไปให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีใหม่ๆ วัฒนธรรมใหม่ๆ ที่ได้รับอิทธิผลจากตะวันตก และชอบไล่ตามกระแสวัตถุนิยม ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจัดในการจัดกิจกรรมกวนอาซูรอและการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน ซึ่งในปีที่ผ่านมานั้น การดำเนินกิจกรรมได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี และในปีนี้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะยิไร ไม่มีงบประมาณ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

๑. เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด ๒. เพื่อให้เกิดกิจกรรมนันทนาการ ความสุขและความสนุกสนาน ด้วยการร่วมกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้านและกิจกรรมอานาซีด ๓. เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชน ๔. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมมือการเชื่อมโยง ระหว่างประชาชน องค์กรภาคประชาสังคมและหน่วยงานรัฐ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกรรมการโครงการครั้งที่๑
  2. จัดทำป้ายไวนิล
  3. ประชุมกรรมการครั้งที่๒
  4. เวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนในชุมชน
  5. ประชุมกรรมการโครงการและคณะทำงาน
  6. ประชุมคณะทำงานครั้งที่๔ (สรุปโครงการ)
  7. จัดทำเล่มรายงานสรุปโครงการ
  8. กิจกรรมฟื้นฟูประเพณีการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมกรรมการโครงการครั้งที่๑

วันที่ 15 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • ชี้แจงรายละเอียดความเป็นมาโครงกการและรายละเอียดโครงการ
  • วางแผนเพื่อการปฎิบัติงาน
  • การแบ่งงานหน้าที่ความรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดความชัดเจนเข้าอย่างละเอียดในเนื้องานโครงการ
  • คณะกรรมการรว่มแสดงแนวคิดและร่วมว่างแผนเพื่อให้กิจกรรมสามารถดำเนินการและลุล่วงสำเร็จ ๑๐๐ %
  • เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน
  • ได้แผนงานการดำเนินการ

 

15 15

2. จัดทำป้ายไวนิล

วันที่ 17 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อการรับการดำเนินกิจกรรมให้กับประชาชนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนได้รับรู้การการดำเนินงานกิจกรรมโครงการจากการประชาสัมพันธ์โครงการไม่น้อยกว่า ๖๐๐  คน

 

2 0

3. ประชุมกรรมการครั้งที่๒

วันที่ 20 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • พูดคุยความพร้อมเรื่องการจัดเวที การจัดกวนอาซูรอ  การละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาเซด
  • เตรียมความพร้อมเพื่อจัดเวทีสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ข้อสรุปรูปแบบการกิจกรรมที่ชัดเจน คือการกวนอาซูแบ่งชุมชนออก ๑๔ โซนๆละ ๑ กะทะ
  • ได้ข้อสรุบรูปแบบการละเล่นกีฬาพื้นบ้านและประเภทของกีฬาพื้นบ้าน
  • ได้กำหนดเพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจกิจกรรมโครงการเตรียมความพร้อมการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ

 

19 19

4. เวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนในชุมชน

วันที่ 21 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • ร่วมพูดคุยลักษณะรูปแบบโครงการ และรายละเอียดโครงการ
  • วางแผนรูปแบบการกวนอาซูรอโดยมีการแบ่งโซนเพื่อออกมาร่วมกวนอาซูรอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนเข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์โครงการ
  • ได้แผนงานและกำหนดกการงานกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด
  • ได้รูปแบบลักษณะการแบ่งโซนรับผิดชอบกิจกรรมกวนอาซูนอ

 

103 103

5. ประชุมกรรมการโครงการและคณะทำงาน

วันที่ 25 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • พูดคุยทบทวนกำหนดการโครงการ
  • พูดคุ่ยเนื้องานและการกำหนดฝ่ายกิจกรรมโครงการแบ่งงานความรับผิดชอบแต่ละฝ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้กำนดการกิจกรรมโครงการที่เป็นรูปภัมถ์และชัดเจนมากยิ่งขึ้น
  • ได้กำหนดเนื้องานที่ชัดเจน
  • ได้กำหดฝ่ายงานและแบ่งความรับผิดชอบงานแต่ละฝ่าย

 

23 23

6. กิจกรรมฟื้นฟูประเพณีการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด

วันที่ 27 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมฟังการบรรยายเรื่องอาซูรอและความสำคัญของปีฮิจเราะฮฺ
  • กิจกรรมกวนอาซูรอ
  • กิจกรรมการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน
  • กิจกรรมฟังการขับร้องอนาซีด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ร่วมงานเกิดความเข้าความเป็นมาของอาซูรอและความสำคัญของปีฮิจเราะฮฺศักราช
  • เกิดความสามัคคีและความสุกสนานในกิจกรรมกวนอาซูรอ
  • เกิดความสนุกสนานในกิจกรรมการละเล่นกีฬาพื้นบ้าน
  • เกืดความสุขและทัศนคติที่ดีจากการรับฟังเนื้ออนาซีด

 

600 600

7. ประชุมคณะทำงานครั้งที่๔ (สรุปโครงการ)

วันที่ 7 ตุลาคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • สรุปโครงการและถอดบทเรียนที่ได้จากการดำเนินโครงการ (ตวามสุนุนสนานของคนในชุมชน ความสามัคคี เป็นต้น)
  • สรุปข้อติดขัดหรือข้อจำกัดจากการดำเนินโครงการ ( ควรจัดเป็นเวลาสองวันสองคืน เนื่องจากการดำเนิดกิจกรรมแบบรวบรัดเกินไป)
  • รวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมจากกล้องโทรศัพท์ทำการรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ข้อสรุปผลที่ได้จากการดำเนินกิจกรรม
  • ได้ข้อสรุปข้อติดขัดหรือข้อจำกัดจากการดำเนินโครงการ
  • ได้รวบรวมถาพกิจกรรมเพื่อสรุปรายงานโครงการ

 

17 17

8. จัดทำเล่มรายงานโครงการ

วันที่ 10 ตุลาคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • รวบภาพถ่ายกิจกรรมโครงการ
  • รวบรวบเอกสารแต่ละกิจกรรมโครงการ
  • สรุปการเงิน
  • รวบรวมจัดรูปเล่มรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้สรุปแต่ละกิจกรรมโครงการ
  • ได้รวบรวมเอกสารโครงการและจัดทำรูปเล่มรายงานโครงการ

 

3 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
๑. เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด ๒. เพื่อให้เกิดกิจกรรมนันทนาการ ความสุขและความสนุกสนาน ด้วยการร่วมกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้านและกิจกรรมอานาซีด ๓. เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชน ๔. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมมือการเชื่อมโยง ระหว่างประชาชน องค์กรภาคประชาสังคมและหน่วยงานรัฐ

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกรรมการโครงการครั้งที่๑ (2) จัดทำป้ายไวนิล (3) ประชุมกรรมการครั้งที่๒ (4) เวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนในชุมชน (5) ประชุมกรรมการโครงการและคณะทำงาน (6) ประชุมคณะทำงานครั้งที่๔ (สรุปโครงการ) (7) จัดทำเล่มรายงานสรุปโครงการ (8) กิจกรรมฟื้นฟูประเพณีการกวนอาซูรอ การละเล่นกีฬาพื้นบ้าน และการขับร้องอนาซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ประเพณีวัฒนธรรมกวนอาซูรอกาละเล่นกีฬาพื้นบ้านและการขับร้องอนาซีด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซุลกิฟลี ฮัจญีฮารูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด