directions_run

เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก ”

12 ตำบล ในอำเภอหนองจิก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสุดิงมามะ

ชื่อโครงการ เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก

ที่อยู่ 12 ตำบล ในอำเภอหนองจิก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2017 ถึง 31 มีนาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 12 ตำบล ในอำเภอหนองจิก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก



บทคัดย่อ

โครงการ " เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก " ดำเนินการในพื้นที่ 12 ตำบล ในอำเภอหนองจิก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2017 - 31 มีนาคม 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 247,545.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1000 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างต่อเนื่องเป็นเวลาที่ยาวนาน เกิดจากการปัญหาหลายมิติ แม้ว่าหลายภาคส่วนได้พยายามทุกวิถีทางเพื่อแกไขปัญหาแต่สถานการณ์ก็ยังไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร พื้นที่พื้นระดับชุมชน  ในระดับหมู่บ้าน ตำบล ซึ่งเป็นฐานรากของสังคมที่มีความสำคัญยิ่งการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมาโดยส่วนใหญ่  จะเป็นไปในลักษณะต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างอยู่ และหากสังคมในระดับชุมชนได้รับการพัฒนา โดยเฉพาะกลุ่มผู้นำในท้องที่มีความเข้าใจ เป็นปึกแผ่น สามัคคี กลมเกลียวสามัคคี จะสามารถนำพาชุมชนสังคมไปสู่การพัฒนาในทุกๆ ด้าน และเป็นการต่อยอดกิจกรรมสภาสันติสุขตำบล กิจกรรมเสวนาสัญจร  ขจัดปัญหาความขัดแย้ง  กลุ่มผู้นำชุมชน  โครงการขงกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน. ภาค 4 สน.) กิจกรรมการอบรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงโครงการเสริมสร้างความเข้าใจ ของ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช) ในการที่จะทำให้เหตุการณ์ก่อความไม่สงบยุติลงได้ เครือข่ายประชารัฐเพื่อสันติ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสังคมในชุมชนเป็นสำคัญ หนทางปฏิบัติที่น่าจะได้ผลที่สุดทางหนึ่ง คือ จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชนแบบรวมการในพื้นที่ สร้างองค์ความรู้ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในทุกมิติที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง และเกลียดชังต่อกัน ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในทุก ๆ  สังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้ทั้งนี้มีความเข้าใจถูกต้อง  ลดความขัดแย้งในชุมชน เกิดกฎหมู่บ้าน เกิดการขับเคลื่อน  เกิดพื้นที่ปลอดภัยและเกิดการพัฒนา โดยเฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ก็จะเป็นการสลายแนวคิดในแง่ของความไม่สงบไปโดยปริยาย ความสันติสุขก็จกลับคืนมาอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้เกิดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นต่อทัศนคติ อุดมการณ์ ความเชื่อ ของกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความรู้  ความเข้าใจที่ถูกต้องอย่างแท้จริง     2 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน มีความภาคภูมิใจภายใต้การปกครองในระบอบ ถึงการต่อต้านการก่อเหตุรุนแรง อย่างชัดเจน โดยประชาชนในพื้นที่มีจิตสำนึกสาธารณะร่วมกันอย่างประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3 เพื่อขับเคลื่อนบทบาทของประชาชน ในระดับตำบล ให้มีส่วนร่วมต่อการแก้ปัญหาใน จชต. ให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้ที่มีความเห็นต่างอื่น ๆ ต่อไป 4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเพื่อก้าวไปสู่เป้าหมายชุมชนเข้มแข็ง ที่มีความสมบูรณ์และยั่งยืน 5 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของตำบลและแสดงออกกว้างขวาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พูดคุ่ยในเรื่องการมีสวนร่วม และสร้างความเข็มแข้งในชุมชน สร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชิบต่ิชุมชน
  2. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน
  3. พูดคุย เพื่อแสวงหาทางออกจากความคัดแย้ง โดยสันติวิธี
  4. ให้ความรู้ความเข้าใจถึงสถานการณ์ในปัจจุบัน และสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน สร้างความเชื่อมั่นแก่ชาวบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พูดคุ่ยในเรื่องการมีสวนร่วม และสร้างความเข็มแข้งในชุมชน สร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชิบต่ิชุมชน

วันที่ 1 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

พูดคุ่ยในเรื่องการมีสวนร่วม  และสร้างความเข็มแข้งในชุมชน  สร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชิบต่ิชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ชาวบ้านให้ความร่วมมือดี และพร้อมที่จะทำงานร่วมกัน 2.  ชาวบ้านเกิดความสบายใจต่อหน่วยงานของรัฐ  และพร้อมที่จะแก้ปัญหาไปพร้อมๆกัน

 

540 540

2. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน

วันที่ 1 ตุลาคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

พูดคุ่ยทำความเข้าใจและเสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก  โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชาวบ้านในพื้นที่  เกิดความรู้สึกรักและต้องการมีสวนร่วมในการต้องการแก้ปัญหาในพ้นที่  กลุ่มที่เข้าร่วมมี่  ฝ่ายปกครองท้องที่  ท้องถิ่น  เยาวชนและชาวบ้านทุกๆคน

 

540 540

3. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

การพูดคุ่ยและเสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก  โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การพูดคุ่ยทำความเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน ขอเสนอแนะ  ชาวบ้านพร้อมที่จะให้ความร่วมทุกๆด้าน

 

540 540

4. ให้ความรู้ความเข้าใจถึงสถานการณ์ในปัจจุบัน และสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน สร้างความเชื่อมั่นแก่ชาวบ้าน

วันที่ 1 ธันวาคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

พูดคุ่ยให้ความรู้ความเข้าใจถึงสถานการณ์ในปัจจุบัน  และสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน  สร้างความเชื่อมั่นแก่ชาวบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เราได้พูดคุ่ยทำความเข้าใจให้กับชาวบ้านและสร้างความเชื่อมัน  ในการดูแลรักษาความสงบในพื้นที่

 

540 540

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
3. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้เกิดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นต่อทัศนคติ อุดมการณ์ ความเชื่อ ของกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องอย่างแท้จริง 2 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน มีความภาคภูมิใจภายใต้การปกครองในระบอบ ถึงการต่อต้านการก่อเหตุรุนแรง อย่างชัดเจน โดยประชาชนในพื้นที่มีจิตสำนึกสาธารณะร่วมกันอย่างประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3 เพื่อขับเคลื่อนบทบาทของประชาชน ในระดับตำบล ให้มีส่วนร่วมต่อการแก้ปัญหาใน จชต. ให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้ที่มีความเห็นต่างอื่น ๆ ต่อไป 4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเพื่อก้าวไปสู่เป้าหมายชุมชนเข้มแข็ง ที่มีความสมบูรณ์และยั่งยืน 5 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม ในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของตำบลและแสดงออกกว้างขวาง

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พูดคุ่ยในเรื่องการมีสวนร่วม  และสร้างความเข็มแข้งในชุมชน  สร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชิบต่ิชุมชน (2) เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออก  โดยสันติ สร้างความเข้าใจในชุมชน (3) พูดคุย เพื่อแสวงหาทางออกจากความคัดแย้ง โดยสันติวิธี (4) ให้ความรู้ความเข้าใจถึงสถานการณ์ในปัจจุบัน  และสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรับผิดชอบต่อชุมชน  สร้างความเชื่อมั่นแก่ชาวบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เสริมสร้างศักยภาพชุมชนเพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง หนองจิก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุดิงมามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด