directions_run

อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1 2 มิ.ย. 2020 2 มิ.ย. 2020

 

  1. หัวหน้าโครงการ นายประพาส แก้วจำรัส กำนันตำบลร่มเมือง กล่าวเปิดประชุม ชี้แจงรายละเอียดวาระการประชุมและประเด็นปรึกษาหารือ ทบทวนความก้าวหน้าของการประกาศใช้กติกา  ให้นายประพิศ ศรีนองดำเนินการคุยแนวทางการดำเนินการโครงการ
  2. นายประพิศ ศรีนอง รองประธาน และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจ้งโครงการ และร่วมกันแลกเปลี่ยนหาแนวทางการดำเนินงาน และสรุปโครงการที่ผ่านมา และคุยเชื่อมโยงการขับเคลื่อนโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ เพื่อพัฒนาโมเดลการจัดการน้ำโดยมีส่วนร่วมของชุมชนให้สมบูรณ์ สู่ร่วมกันสร้างเมืองลุงสู่เมืองสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  3. ร่วมกันระดมเสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานและสรุปหาแนวทางและกำหนดการดำเนินงาน

 

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 30 คน โดยมีหน่วยงาน และภาคภาคีร่วมประชุม คณะทำงานได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลอง และทุกภาคีให้ความร่วมมือและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานจนสำเร็จ ร่วมทั้งปัญหาอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นกับการทำกิจกรรมฝายมีชีวิต และช่วยกันหาแนวทางแก้ปัญหาปรับปรุง ส่วนในเรื่องการจะทำฝายตัวใหม่ ทางกำนันนายประพาส แก้วจำรัส ได้ให้ฝ่ายนักปกครองลงพื้นที่สำรวจคลอง ดูปัญหาหรืออุปสรรค และจัดหาพื้นที่ที่่จะทำฝายตัวใหม่เพือให้สอดคล้องกับการใช้น้ำเพื่อการประกอบอาชีพทางการเกษตรเพือให้น้ำเพียงพอต่อฤดูแล้ง

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่1 11 มิ.ย. 2020 11 มิ.ย. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจและลงพื้นที่สำรวจมีการเก็บตัวอย่างน้ำ 3 จุด คือ1. ลำคลองบ้านนาโอ ณ สวนป่านาโฮ หมู่ที่ 4 ตำบลร่มเมือง 2.สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ 7 3.คลองบ้านนาโอ่ ณ คตกรีด หมู่ที่ 2 ตำบลร่มเมือง
  5. นำข้อมูลคุณภาพน้ำมาสรุปผล๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
          ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
          ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี
          ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส
          ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐
        ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร
      (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
          ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
          ๒
          = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร
        ๒
          ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง
          ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น         ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก
            ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส
            ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐
          ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๕ เมตร
          (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
          ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
          ๒
          = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร
        ๒
        ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
            ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
            ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี
            ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส
            ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ 


            ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร
            (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
            ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
            ๒
            = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร
            ๒
  6. ทีมติดตามเฝ้าระวังคลองมีตัวแทนร่วมเทศบาลตำบลร่มเมือง สำรวจและร่วมพัฒนาคลองนำขยะในคลองไปจัดการทำให้คลองสวยน้ำใส
  7. สรุปผลการติดตามและการดำเนินงาน

 

  1. คณะทำงานในการติดตามอย่างต่อเนื่อง และได้นำข้อมูลสถานการณ์วางแผนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลอง พร้อมทั้งได้นำเสนอคณะกรรมการอนุรักษ์คลองนาโอ่ใช้ในการวางแผนในการขับเคลื่อนงานได้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
  2. น้ำในคลองนาโอ่มีคุณภาพดี

 

ปฐมนิเทศโครงการ NFS จังหวัดพัทลุง 20 มิ.ย. 2020 20 มิ.ย. 2020

 

  1. ลงทะเบียน
  2. เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/แนะนำตัวทำความรู้จัก
  3. ชี้แจ้งวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม ปฐมนิเทศโครงการ และแนะนำโครงการ Node Flagship พัทลุง ความเชื่อมโยงประเด็นกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เมืองลุงสเขียว
  4. ให้ความรู้ทบทวนบันไดผลลัพธ์ใช้ในการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา กระบวนการคลี่บันไดผลลัพธ์  แต่ละพื้นที่ทบทวนบันไดผลลัพธ์ของโครงการ
  5. แบ่งกลุ่มย่อ่ยพื้นท่ีโครงการ การออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
  6. แบ่งกลุ่มย่อยพื้นท่ีโครงการ การออกแบบแผนดำเนินโครงการ จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการของแต่ละพื้นที่ ลงปฏิทินที่ทางหน่วจจัดการได้เตรียมและส่งปฏิทินการดำเนินงานให้หน่วยจัดการ
  7. แล่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย หน่วยงานที่มีบทบาทในการสนับสนุน/มีความรับผิดชอบประเด็นที่รับผิดชอบของแต่ละโครงการ เพื่อได้ประสานความร่วมมือและเตรียมจัดเวทีความร่วมมือกับภาคี
  8. ให้ความรู้การบริหารจัดการ การเงิน มีการนำเสนอและมีแผ่นภาพประกอบ พร้อมคู่มือในการจัดทำรายงานและรายงานการเงิน
  9. สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  10. การเขียนรายงานผ่านระบบ happy network และให้แต่ละพื้นที่บันทึกรายละเอียดโครงการลงระบบออนไลน์และบันทึกผลการดำเนินงานเป็นตัวอย่าง เพื่อทำให้แต่ละโครงการเข้าใจและนำไปใช้ได้

 

  1. ได้รู้เป้าหมายของโครงการNFSจังหวัดพัทลุง ที่มุ่งไปสู่การเป็นเมืองgreen city และพร้อมร่วมดำเนินการโครงการอนุรักษ์คลองเป็นโมเดล จะนำไปสู่การสร้างให้เกิดเมืองสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทรัพยากรสมบูรณ์สร้างเกิดความมั่นทางทางอาหาร สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี
  2. ได้มีความรู้บันไดผลลัพธ์และการคลี่บันในผลลัพธ์เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาเป็นระยะ เครื่องมือช่วยให้การดำเนินงานสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้  และมีความตั้งใจนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดำเนินงานโครงการ
  3. มีความรู้และสามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูล การประมวลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถเขียนการดำเนินโครงการผ่านรายงานผ่านระบบHappy Networkได้
  4. เกิดความรู้ความเข้าใจระบบหลักฐานทางการเงิน การทำบัญชีการจัดการการเงิน วางแผนงานและการบริหารจัดการ ได้รับหนังสือรับรองของเปิดบัญชีธนาคารจากหน่วยจัดการฯพัทลุง
  5. ได้เรียนรู้ปัญหาอุปสรรคของการทำงานในปีที่ 1 จากการสะท้อนของหน่วยจัดการNFS
  6. ได้ให้ข้อมูลภาคีความร่วมมือเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ/หน่วยงานหนุนเสริมการอนุรักษ์ลุ่มน้ำ เพื่อหน่วยจัดการประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนในพื้นที่และวางแผนร่วมกันต่อไปดำเนินงานขยายพื้นที่อนุรักษ์คลองเพื่อให้มีแม่น้ำลำคลองที่สะอาด น้ำเพียงพอในการอุปโภคและบริโภค

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 2 2 ก.ค. 2020 2 ก.ค. 2020

 

  1. หัวหน้าโครงการ นายประพาส แก้วจำรัส แจ้งถึงการลงนามอนุมัติโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ ครั้งที่2
  2. มีการวางแผนในการพัฒนาคลอง และร่วมกำหนดแผนปฏิบัติการโครงการอนุรักษ์คลอง เตรียมเวทีทำความเข้าใจโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่และโรงเรียนพันธุ์ไม้ ได้ร่วมกันการหนดกำหนดการของแต่ละกิจกรรมและแบ่งบทบาทหน้าที่การจัดกิจกรรม  ทั้ง 2 กิจกรรม
  3. สำรวจลำคลองนาโอ่ นำผลการเปลี่ยนแปลงการอนุรักษ์คลองฯมาแลกเปลี่ยน และวางแผนในการดำเนินการในการทำความเข้าใจในระดับหมู่บ้านโดยเฉพาะหมู่บ้านขยายในปีที่ 2 จำนวน 3 หมู่บ้าน

 

  1. ทุกฝ่ายเตรียมพร้อมและประสานกำลังพล ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหมู่บ้านแต่ละหมู่ ทีม อสม. ชาวบ้านตลอดจนนักเรียนนักศึกษา เพื่อเข้ามามีส่วนรวมในการพัฒนาคลองนาโอ่
  2. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏฺิทินการดำเนินงานของโครงการ มีการแบ่งบทบาท การเตรียมงาน
  3. เป็นการสร้างกลไลระหว่างชาวบ้าน หน่วยงาน ให้มีความสามัคคคี

 

เวทีทำความเข้าใจโครงการ 10 ก.ค. 2020 10 ก.ค. 2020

 

1.ประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มผู้นำชุมชน องค์กร ชมรม กลุ่ม ในตำบลร่มเมือง 2.ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ และกรรมการกลุ่มอนุรักษ์คลองนาโอ่ เพื่อสร้างความเข้าใจ การทำงานและขับเคลื่อนกิจกรรม
3. ประชุมชาวบ้านทั้ง 9 หมู่บ้าน เพื่อให้เป็นแนวทางขับเคลื่อนคลองนาโอ่ ต่อจากโครงการ 1 4.กำหนดบทบาทหน้าที่ การเตรียมสถานที่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และประชาสัมพันธ์โครงการ

 

1.  มีผู้ให้ความสนใจและเขาร่วมเวทีการอนุรักษ์คลองนาโอ่ โครงการ2  จำนวน 200 คน ที่พร้อมจะช่วยในการดูแลสายน้ำ รักษาป่าไม้ ฟื้นฟูระบบนิเวศ ตามแนวริมคลอง ชายฝั่งคลอง
2.  ได้รับการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ ดังนี้ 1.ฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง บุคลากรร่วมเป็นคณะทำงานจัดเวที  2.เทศบาลตำบลร่มเมือง ร่วมสนับสนุนงบประมาณและบุคลากร  3.ชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าป่าไม้ 4.โรงเรียนวัดนาโอ่5.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหูแร่ 6.ประชาชนตำบลร่มเมือง 3. มีภาคีภายนอกตำบล ได้ร่วมกันประชุมเปิดโครงการ และมีกิจกรรมขอขมาแม่คงคา และร่วมกันปล่อยพันธ์ปลา จำนวน 3000 ตัว โดยมีนายพงศ์เทพ ประทุมสุวรรณ นายอำเภอเมืองพัทลุงมาเป็นประธาน ร่วมทั้งภาคีขับเคลื่อนลุ่มน้ำจังหวัดพัทลุง นายประพาส แก้วจำรัส กำนันตำบลร่มเมือง นายสมพงษ์ ดอนเพ็งจันทร์ นายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง นายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ตัวแทนคณะกรรม 4.  ผู้เข้าร่วมมีความรู้และตระหนักความสำคัญของการปลูกต้นไม้ดูแลคลองป้องกันน้ำกัดเซาะและการชะล้างหน้าดิน  ได้มีความสมัครใจที่จะร่วมปลูกต้นไม้ป่าหัวสวนเพิ่ม มีต้นไม้เป็นทั้งพืชอาหาร  ไม้ใช้สอย  พืชเศรษฐกิจ  และพืชสมุนไพร  ต้นไม้ที่ได้รับแจกมีความตั้งใจนำไปปลูกในที่ของแต่ละคน

 

โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 1 17 ก.ค. 2020 17 ก.ค. 2020

 

1.ให้ความรู้ เกี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 2.ลงมือปฏิบัติ กี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 3.แจกพันธุ์ไม้ให้กับสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย

 

1.คนมีความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 2. สามารถทำได้ การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 3. ได้นำกล้าไม้ไปปลูกจำนวน 60 คน

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่3 2 ส.ค. 2020 2 ส.ค. 2020

 

1.หัวหน้าโครงการ ได้กล่าวเปิดประชุม ในเรื่องการพัฒนาตำบลร่มเมืองในเรื่องของการแก้ปัญหาภัยแล้ง 2.ในเดือนนี้ นางศิรพร ทองทวีได้เข้าร่วมประชุม เรื่องการจัดกิจกรรมงานพิธีกรรมแม่โพสพ จะจัดทำในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี แต่เนื่องจากปัญหาโรคระบาค โควิด-19 จึงเลื่อนการจัดในเดือนสิงหาคม 3.การถอดบทบาทจากโครงการฝายมีชีวิต

 

จากความร่วมมือของคนในตำบลร่มเมืองที่ร่วมกันจัดทำฝายชะลอน้ำที่ผ่านมา ทำให้ชาวบ้านมีน้ำใช้ในการเกษตรได้ดีขึ้น ต้นไม้มีความสมบูรณ์ขึ้น

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่2 5 ส.ค. 2020 5 ส.ค. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

 

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศแจ่มใส กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๘มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๑ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๖ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘๖เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗๔ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘๖ + ๐.๗๔ = ๐.๘๐ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๖.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗ + ๐.๖ = ๐.๖๕ เมตร ๒

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่3 20 ส.ค. 2020 20 ส.ค. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

 

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร ๒

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่4 2 ก.ย. 2020 2 ก.ย. 2020

 

1.  วางแผนการดำเนินงาน  กำหนดวันจัดกิจกรรม โครงการจิตอาสาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
2.  กำหนดการวางแผนฝายมีชีวิต และแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานในการเตรียมการทำฝายมีชีวิต

 

ได้กำหนดแผนการดำเนินงาน
ได้แบ่งทีมประสานงาน นายประพิศ ศรีนอง มีหน้าที่ เตรียมของ วัสดุ อุปกรณ์ นายสวาท จันทมาส มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์ นายประพาส แก้วจำรัส มีหน้าที่ ติดต่อหน่วยงาน และสร้างความเข้าใจในชุมชนมาร่วมทำฝาย คณะทำงานมีส่วนรวมในการกำหนดแสดงความคิดเห็นในการทำฝาย

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่4 18 ก.ย. 2020 18 ก.ย. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

 

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๓ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๔ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗๓ + ๐.๖๔ = ๐.๖๘๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๘.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗ + ๐.๖ = ๐.๖๕ เมตร ๒

 

ค่าตอบแทนในการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 30 ก.ย. 2020 19 พ.ย. 2020

 

จัดทำข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ โดยต้องอาศัยระบบอินเตอร์เน็ตในการคี่ข้อมูล

 

นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจคลอง ค่าน้ำ และการทำฝ่าย ในแต่ละขั้นตอนลงในระบบคอมพิวเตอร์

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่5 2 ต.ค. 2020 2 ต.ค. 2020

 

  1. แจ้งเพื่อทราบ กิจกรรมในการรณรงค์และพัฒนาคลองนาโอ ได้จัดโครงการความร่วมมือของคณะทำงานอนุรักษ์คลองนาโอ ร่วมกับหน่วยงานในตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง โรงเรียนวัดโอ๋ โรงเรียนวัดกลาง ทสจ.พัทลุง ร่วมกิจกรรมในการให้ความรู้การมีส่วนร่วมของจิตอาสาในการดูแลรักษาคลอง ปลูกไม้ริมคลองป้องกันการพังของหน้าดีน ป้องกันตลิ่งพัง ไม่ทิ้งขยะลงคลอง และร่วมกันพัฒนาคลอง โครงการจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมในวันทื่ 9 กันยายน 2563
  2. โครงการขุดลอกคลองในหมู่ที่ 9 เนื่องจากเข้าสู่ช่วงฤดูหน้าฝนการขุดลอกให้น้ำไหลสะดวก
  3. กำหนดแผนการทำงานในเดือนพฤศจิกายน 2563 การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนและผู้สนใจในชุมชนเตรียมวัสดุอุปกรณ์และระดมทุนระดมแรงที่จะใช้ในการทำฝายมีชีวิต ติดตามในการปลูกและการเพาะกล้าไม้ของโรงเรียนต้นไม้

 

  1. ได้ติดตามโครงการจิตอาสา มีทั้งองค์กร ชาวบ้าน และกลุ่มจิตอาสา นักเรียน จำนวน 150 คน มีความตื่นตัวและตั้งใจเข้าร่วมพัฒนา แต่ละคนได้มีการนำต้นไม้ที่ได้รับมอบไปปลูกในสวนของแต่ละคนเพื่อเพิ่มพืนที่สีเขียว
  2. หน่วยงานมีความร่่วมมือสนับสนุนบุคลากร  เทศบาล โรงเรียน รพ.สต และภาคีอื่น ๆ เข้าร่วมโครงการพัฒนาและอนุรักษ์คลองนาโอ และมีแผนร่วมกันในการอนุรักษ์และพัฒนาคลองนาโอ โดยแต่ละองค์กรพร้อมให้การสนับสนุนความรู้ งบประมาณ บุคลากร ตามความเหมาะสม เช่น เทศบาลตำบลร่มเมืองได้นำเรื่องของการอนุรักษ์และพัฒนาคลองเข้าเป็นแผนงานขององค์กร
  3. ได้แผนปฎิบัติงานในเดือนพฤศจิกายน 2563 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลคลอง วันที่ 25 พ.ย. 63 สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวังคลองนาโอ่ 18 พ.ย. 63 ได้มีการแบ่งให้คณะทำงานแต่ละหมู่บ้านทำความเข้าใจคนในหมู่บ้าน และคนที่สนใจ ระดมทุน/วัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำฝายมีชีวิต ดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ ทำหลังน้ำท่วม ช่วงเวลาที่เหมาะสมซึ่่งทำเสร็จก็จะสามารถทำให้น้ำเพิ่มขึนในช่วงฤดูแล้งทำให้คนในชุมชนมีน้ำเพียงพอสำหรับการอุปโภคโดยเฉพาะการทำเกษตรทำให้ชุมชนมีพื้นที่สีเขียว/อาหารปลอดภับริโภค

 

กิจกรรมเวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย 7 ต.ค. 2020 30 ก.ย. 2021

 

เวทีการเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคีที่เกี่ยว พื้นที่ เข้าร่วม จำนวน 3 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน ผู้รายงานกิจกรรมรายงานความก้าวผ่าระบบออนไลน์ รับฟังการชี้แจงจุดประสงค์ในการเชื่อมร้อย จากผู้รับผิดชอบหน่วยจัดการ NFS นาย ไพฑรูณ์ ทองสม จุดประสงค์ เพื่อการเชื่อมร้อยการดำเนินงานของพื้นที่และหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวของแต่ละยุทธศาสตร์ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานเพื่อไปสู่เป้าหมายร่วมกัน สามารถดำเนินงานและสนับสนุนหนุนเสริมการดำเนินงาน วางแนวทางการดำเนินงานร่วมกันได้ มีการแนะนำหน่วยงานภาคีที่เกี่ยว ตามยุทธศาสตร์ และพื้นที่โครงการจำนวน 25 พื้นที่ แนะนำพี่เลี้ยงประจำพื้นที่ จากนั้นแบ่งกลุ่มตามประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งพื้นที่บ้านควนคงอยู่ประเด็นยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัยมีพี่เลี้ยงประจำกลุ่ม เป็นคนชวนคุย สร้างความเข้าใจ ระหว่างพื้นที่และหน่วยงานภาคีที่เข้าร่วมกลุ่ม พื้นที่ได้นำแผนการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่นำเสนอช่วงระยะเวลาในการดำเนินงานแก่ หน่วยงานภาคีและพื้นที่ในประเด็นอาหารปลอดด้วยกัน เพื่อการเชื่อมประสานการดำเนินงาน การสนับสนุน การหนุมเสริม ในเรื่องการร่วมมือพื้นที่ประเด็นอาหารปลอดภัย หน่วยงานภาคี ได้แนะนำการวางแนวทางการดำเนินที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคีที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ประเด็นทรัพยากร 2. ประเด็นสิ่งแวดล้อม 3. ประเด็นอาหารปลอดภัย

 

ผลผลิต คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 3 คน เชื่อมกิจกรรมกับภาคียุทธศาสตร์เกษตรตำบล เกษตรอำเภอ และเกษตรจังหวัด เชื่อมร้อยกิจกรรมกับภาคีสาธารณสุข สาธารณสุขอำเภอ และสาธารณสุขจังหวัด

 

กิจกรรมส่งตรวจเอกสารการเงินร่วมกับหน่วยงวดที่1 14 พ.ย. 2020 14 พ.ย. 2020

 

1.จัดเตรียมเอกสาร 2. นำเอกสารส่งตรวจ

 

นายสวาท จันทมาส นายประพิศ ศรีนอง และนางพรทิพย์ ฤทธิ์เรือง เดินทางนำส่งเอกสารเบิกจ่ายงวดแรก เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่5 18 พ.ย. 2020 18 พ.ย. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท = ดี ความโปร่งแสง = 1+2 = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้ สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง 1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร 2. ระยะที่มองเห็น 1.1 เมตร   ค่าความโปร่งแสง = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง 1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร 2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร   ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท ดี

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6 23 พ.ย. 2020 23 พ.ย. 2020

 

1.ประธานเปิดการประชุม โดยนายประพาส แก้วจำรัส 2. รับรองผลการประชุมจากครั้งที่ 5/2563 3.แจ้งเพื่อทราบ 4.เรื่องพิจารณา 5.เรื่องอื่น ๆ

 

นายประพาส แก้วจำรัส ประธานโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ กล่าวเปิดประชุม โครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ ฝายตัวที่ 2 จะสร้างขึ้นตรงบริเวณท่าน้ำสวนป่านาโอ่ ตรงกับทางลงลอยกระทง แต่ปัญหาช่วงนี้ติดกับสถานะการณ์โรคระบาดโควิด 19 ทำให้การดำเนินงานล่าช้า แต่ก็ต้องดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จทันเวลากับตัวโครงการทีได้งบประมาณมา โครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ งบประมาณที่ได้มาครั้งนี้เป็นจำนวนเงิน 108,000 บาท งบที่ได้มาครั้งนี้ ได้มาจำนวนน้อย แต่โครงการของเราต้องดำเนินการให้เสร็จตามเป้าหมาย และขอให้ผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่ช่วยประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมกิจกรรมหรือผู้ใดสนใจร่วมบริจาคสิ่งของหรือจะบริจาคเป็นเงินก็ตามแต่ศรัทธา

 

ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1 25 พ.ย. 2020 25 พ.ย. 2020

 

  1. นำข้อมูลจากปีที่ 1 มากำหนดแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในปี
    2 พร้อมร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูล และแบ่งบทบาทการเก็บข้อมูล
  2. ปฏิบัติการเก็บข้อมูล ตามที่ออกแบบและกำหนดไว้
  3. ทีมข้อมูลรวบรวมข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการในการจัดการและอนุรักษ์คลองนาโอ่พร้อมสรุปข้อมูล

    1. ทบทวนข้อมูลและผลสรุปข้อมูลก่อนส่งต่อในเวที่คืนข้อมูล

 

มีคณะทำงานเกิดตัวแทนหลากหลาย และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ สามารถจัดการและอนุรักษืคลองได้อย่างเหมาะสม และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากปีที่แล้วและปีนี้ เพื่อสามารถขับเคลื่อนการจัดการคลองและอนุรักษ์คลองได้อย่างต่อเนื่อง

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่6 29 พ.ย. 2020 29 พ.ย. 2020

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่า OD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  4. ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7 2 ธ.ค. 2020 2 ธ.ค. 2020

 

1.ประธานเปิดการประชุม โดยนายประพาส แก้วจำรัส 2. รับรองผลการประชุมจากครั้งที่ 5/2563 3.แจ้งเพื่อทราบ 4.เรื่องพิจารณา 5.เรื่องอื่น ๆ

 

นายประพาส แก้วจำรัส ประธานเปิดการประชุม โดยสืนเนื่องจากการประชุมครั้งที่แล้ว ในการจัดทำฝายมีชีวิต ขอเลื่อนการจัดทำไปก่อน เพราะสถานการณ์โรคระบาดและจะนัดประชุมอีกครั้ง แต่การทำฝายตัวใหม่นี้ให้แต่ละฝ่ายแบ่งบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน เพื่อความสะดวกในการทำฝาย ส่วนการเพาะพันธ์ุต้นกล้า จะกำหนดวันในวันท่ี 23 มีนาคม 2564 และ วันที่ 8 เมษายน 2564

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่ึ7 18 ธ.ค. 2020 18 ธ.ค. 2020

 

1 การตรวจวัดคุณภาพน้ำ โดยทางกายภาพ 2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงาน 3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8 2 ม.ค. 2021 2 ม.ค. 2021

 

  1. นายประพาสแก้วจำรัส ประธานโครงการกล่าวเปิดประชุม
  2. ให้คณะทำงานรายงานผลการทำงานในแต่ละช่วงโครงการ
  3. จัดเตรียมสิ่งของและนัดหมายในรอบต่อไป

 

คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 30 คน ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่8 11 ม.ค. 2021 11 ม.ค. 2021

 

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  2. กำหนดจุดพิกัดในการตรวจ 5.ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 9 2 ก.พ. 2021 2 ก.พ. 2021

 

  1. ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ และคณะกรรมการกลุ่มอนุรักษ์พัฒนาคลองวัดโอ่ เพื่อวางแนวทางการดูแล เฝ้าระวัง รักษาไว้ซึ่งความเป็นคลองนาโอ่ในเขตพื้นที่สายน้ำคลองลำ
  2. นำแนวทางที่ได้จากการประชุมตามข้อ 1 มากำหนดรูปแบบกติกาที่เป็นรูปธรรม
    1. นำกติกาที่ได้กำหนดจัดทำประชาคมผ่านการประชุมหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และนำไปปฏิบัติใช้อย่างไม่เป็นทางการ   4. ประกาศการใช้กติกาอย่างเป็นทางการแก่ชาวบ้าน ผู้นำทุกกลุ่ม ทุกภาคส่วนในตำบลร่มเมือง
    2. ติดตามรายงานผลการกำหนดใช้กติกาผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. ทบทวน ปรับปรุง กติกาให้มีความสอดคล้อง เหมาะสม

 

จากการร่วมกันทำฝายมีชีวิตตัวที่ 2 โดยได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นคณะทำงาน แกนนำฝ่ายปกครอง เทศบาล โรงเรียน รพ.สต อสม วัด และชาวบ้าน  ซึ่งร่วมมือร่วมพลังกันทำฝายจนเกิดฝายมีชีวิตเกิดขึ้น และได้ส่งผลให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนได้อีกด้วย

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอครั้งที่9 15 ก.พ. 2021 15 ก.พ. 2021

 

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10 2 มี.ค. 2021 2 มี.ค. 2021

 

1.กำหนดวาระการประชุมคณะทำงานคลอง 2.แจ้งรายงานผลความก้าวหน้าของโครงการพร้อมกับรายงานสถานะการเงินของโครงการ 3.ค้นหาความสำเร็จความล้มเหลว ในการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว

 

-คณะทำงานเข้าร่วมการประชุม จำนวน 30 คน -ผู้รับผิดชอบชี้แจงสถานะทางการเงินของโครงการ -รายงานผลการลงติดตามคลองโดยการล่องเรือสำรวจความสะอาดเรียบร้อยของสายคลอง -คณะทำงานปรึกษาในการเตรียมประกาศเวทีปริญญาร่มเมือง

 

ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 2 4 มี.ค. 2021 4 มี.ค. 2021

 

  1. นำข้อมูลจากปีที่ 1 มากำหนดแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในปี
    2 พร้อมร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูล และแบ่งบทบาทการเก็บข้อมูล
  2. ปฏิบัติการเก็บข้อมูล ตามที่ออกแบบและกำหนดไว้
  3. ทีมข้อมูลรวบรวมข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการในการจัดการและอนุรักษ์คลองนาโอ่พร้อมสรุปข้อมูล

    1. ทบทวนข้อมูลและผลสรุปข้อมูลก่อนส่งต่อในเวที่คืนข้อมูล

 

ตัวแทนแต่ละฝ่ายได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละส่วนเพื่อนำมาประกอบข้อมูลจัดทำฝายมีชีวิต

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 1 10 มี.ค. 2021 10 มี.ค. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

นายประพาส แก้วจำรัส และผู้ใหญ่บ้านร่วมทั้งทุกภาคส่วนลงพื้นที่สำรวจบริเวณคลองนาโอ่ และท่าน้ำที่่จะทำการสร้างฝายมีชีวิต จากการสำรวจได้มีการลงมติสร้างฝายที่ท่าน้ำสวนป่านาโอ่

 

สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่10 18 มี.ค. 2021 18 มี.ค. 2021

 

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำ โดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

 

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่2 19 มี.ค. 2021 19 มี.ค. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

ลงพื้นที่ทำฝาย โดยการใช้รถไถปรับสถาพบริเวณที่จะสร้างฝาย และระดมชาวบ้าน ร่วมทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เคลียร์บริเวณลำคลอง ช่วยกันหาไม้ไผ่ เตรียมพร้อมไว้ทำฝายมีชีวิต

 

จัดทำป้าย 19 มี.ค. 2021 19 มี.ค. 2021

 

จัดทำป้าย เขตปลอดบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ ป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

 

ได้เขตปลอดเขตปลอดบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ มีการติดช้ดเจน ที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน และได้ป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม จำนวน 2 ป้าย

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 3 20 มี.ค. 2021 20 มี.ค. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

ระดมกลุ่ม แกนนำ ร่วมทั่้งภาคภาคี เครือข่าย พร้อมด้วยชาวบ้านใกล้เคียง ช่วยกันสร้างฝายมีชีวิตและมอบหมายหน้าที่ต่าง ๆ ให้แต่ละกลุ่ม ช่วยกันทำงานตามหน้าที่ เพื่อที่จะให้งานออกมาสำเร็จ

 

กิจกรรมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อทำการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยงาน 20 มี.ค. 2021 20 มี.ค. 2021

 

ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้กับหน่วย ARE 1 ของหน่วยจัดการ ตัวแทนคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม 3 คน รายงานผลการดำเนินการตามบันไดผลลัพธ์ แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนตามประเด็น(กลุ่มสิ่งแวดล้อม) สรุปรูปแบบการจัดการของโครงการ ทิศทางการจัดการของภาคียุทธศาสตร์

 

ผลผลิต ผู้แทนคณะทำงานเข้าร่วม 3 คน (หน.โครงการ /การเงิน/ผู้เขียนรายงาน) ผลลัพธ์ ผลการดำเนินงานถึงบันไดขั้น 2

 

โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่่ 2 23 มี.ค. 2021 23 มี.ค. 2021

 

  1. กำหนดพันธุ์ไม้ในแต่ละชนิด แต่ละกลุ่มประเภท ความต้องการปลูกของชาวบ้านริมคลองหัวสวน
  2. ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สำหรับเพาะพันธุ์กล้าไม้เพื่อใช้ในการปลูกบริเวณริมคลอง
  3. จัดทำโรงเรือนเพาะพันธุ์ อนุบาลกล้าไม้ สำหรับเป็นแหล่งพันธุ์ไม้ให้กับชาวบ้านที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายหลัก 2 ข้างฝั่งริมคลอง และชาวบ้านทั่วไปในตำบลร่มเมือง
  4. ดำเนินการจัดซื้อจัดหากล้าไม้ที่หายาก เพื่อการขยายพันธุ์
  5. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนชาวบ้านทั่วไปเข้าร่วมปลูกต้นไม้บริเวณริมฝั่งคลองทั้ง 2 ข้า

 

ได้จัดหาต้นกล้า จากหน่วยงานเพาะพันธ์ุต้นกล้าจังหวัดพัทลุง และได้จากชาวบ้าน รวมทั้งต้นกล้าเล็กๆจากสวนป่านาโอ่  ต้นกล้าที่ได้มาได้นำมาเพาะชำไว้ที่ทำการกำนันผู้ใหญ่บ้าน ต.ร่มเมือง โดยมีชาวบ้าน กลุ่มองค์กร อสม. แกนนำชุมชน ช่วยกันเพาะชำ

 

โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 3 28 มี.ค. 2021 28 มี.ค. 2021

 

กำหนดพันธุ์ไม้ในแต่ละชนิด แต่ละกลุ่มประเภท ความต้องการปลูกของชาวบ้านริมคลองหัวสวน 2. ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สำหรับเพาะพันธุ์กล้าไม้เพื่อใช้ในการปลูกบริเวณริมคลอง 3. จัดทำโรงเรือนเพาะพันธุ์ อนุบาลกล้าไม้ สำหรับเป็นแหล่งพันธุ์ไม้ให้กับชาวบ้านที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายหลัก 2 ข้างฝั่งริมคลอง และชาวบ้านทั่วไปในตำบลร่มเมือง 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดหากล้าไม้ที่หายาก เพื่อการขยายพันธุ์ 5. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนชาวบ้านทั่วไปเข้าร่วมปลูกต้นไม้บริเวณริมฝั่งคลองทั้ง 2 ข้า

 

ต้นกล้า พันธ์ุไม้ ซึ่งได้จากศูนย์เพาะชำกล้าไม้และต้นกล้าบริเวณสวนป่า โดยอาศัยชาวบ้าน กลุ่ม องค์กร และส่วนราชการ ช่วยกันเพาะชำกล้าไม้ โดยใช้บริเวณพื้นที่ทำการปกครองกำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นที่เพาะชำต้นกล้า

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 30 มี.ค. 2021 30 มี.ค. 2021

 

ผูัรบทุนโครงการได้สำรองเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 100 บาท

 

ผู้รับทุนโครงการได้รับเงินคืนสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร่ จำนวน 100 บาท

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่4 20 เม.ย. 2021 20 เม.ย. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

จากการทำฝายมีชีวิตในวันที่ 20 มีนาคม 2564 ผลลัพธ์ที่ได้คือทุกภาคส่วนให้ร่วมมือเป็นอย่างดี แต่เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ระบาด จึงทำให้การทำงานต้องใช้กำลังคนไม่เกิน 50 คน แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบกับการทำฝายครั้งนี้เลย ทุกคนให้ความร่วมมือดีมาก การสร้างฝ่ายประสบความสำเร็จเกินครึ่ง

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่5 27 เม.ย. 2021 27 เม.ย. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

นายประพาส แก้วจำรัส และผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ทั้ง 9 หมู่บ้าน พร้อมด้วย คณะว่าที่นายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง นายสมบูรณ์ บุญวิสูตร และ สท รวมทั้งพระ สามเณร ร่วมกันทำฝายมีชีวิตในวันนี้ ทำให้ฝายมีความก้าวหน้าเกือบจะสมบูรณ์แบบ  ด้วยพลังสามัคคี

 

ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่6 21 มิ.ย. 2021 21 มิ.ย. 2021

 

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

 

นายประพาส แก้วจำรัส พร้อมด้วยคณะทำงานฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง และมีหน่วยงานเทศบาลตำบลร่มเมือง โดยนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร และคณะบริหารงาน  อสม.บ้านลำ และ ชาวบ้านร่วมกันทำฝายมีชีวิต

 

ผ้าป่าต้นไม้(เวทีสรุปบทเรียนและนำเสนอข้อมูลต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) 25 มิ.ย. 2021 25 มิ.ย. 2021

 

1.จัดเวทีประชุมสรุปบทเรียนการจัดการอนุรักษ์คลอง 2.รวมกันอนุรักษ์และห่มผ้าต้นไม้ 3.ถอนบทเรียนในการทำฝายครั้งนี้

 

ทุกฝ่าย ทุกเครือข่าย รวมทั้งหน่วยงาน รพ.สต อสม นักเรียน ประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการพาปิ่นโตคนละสายเพื่อถวายพระ  และได้มีส่วนรวมในการห่มผ้าต้นไม้ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ต้นไม้ไม่ให้ถูกทำลายทั้งนี้คณะทำงานพร้อมด้วยตัวแทนจาก รพ.สต อสม. ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชาวบ้านร่วมกันถอนบทเรียนการเรียนรู้ แนวทาง การแก้ไขปัญหา และผลกระทบและประโยชน์จากการทำฝายครั้งนี้

 

จัดทำชุดนิทรรศการ 25 มิ.ย. 2021 25 มิ.ย. 2021

 

  1. ประชุมคณะทำงานได้มอบหมายให้ทีมงาน นำผลการดำเนินงานไปออกแบบจัดทำชุดนิทรรศการ ส่วนของป้ายไวนิลล์จ้างร้านจัดทำตามแบบ เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงานที่เข้าร่วม และเผยแพร่ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอนุรักษ์คลอง
    2.ในวันเตรียมงานทีมงาน 5 คนที่ได้รับมอบหมายจากคณะทำงานได้ จัดนิทรรศการเป็นฐานการเรียนรู้นำเสนอโมเดลการอนุรักษ์คลองนาโอ สายน้ำมีชีวิต ฟื้นคลองฟื้นชีวิตคืนความสมบูรณ์ สานพลังชุมชน
    3.นำเสนอโมเดลการรจัดการน้ำโดยชุมชน "อนุรักษ์คลองนาโอ" วิทยากรชุมชนให้ความรู้โดยมีชุดนิทรรศการประกอบ ผลความเปลี่ยนแปลงความสำเร็จของโครงการ

 

ได้ชุมนิทรรศการโมเดลการจัดการน้ำโดยชุมชน "อนุรักษ์คลอง ฟื้นคลอง ฟื้นชีวิต สู่สายน้ำมีชีวิตที่คลองนาโอ"  ผู้เข้าร่วมมีความสนใจได้ความรู้การจัดการน้ำ/อนุรักษ์คลองของตำบลร่มเมืองเพิ่มขึ้น หน่วยงานมีความสนใจพร้อมร่วมขับเคลื่อนอนุรักษ์คลอง