directions_run

อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนอนุรักษ์คลองนาโอ่มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการอนุรักษ์คลอง ร้อยละ 80 2. มีคณะทำงานเกิดตัวแทนหลากหลาย และมีการแบ่งบทบาทสามารถจัดการและอนุรักษ์คลองได้เหมาะสม 3. มีข้อมูลและแผนการขับเคลื่อนการทำงานจัดการและอนุรักษ์คลอง 4. คณะทำงานติดตามเฝ้าระวังฟื้นฟูและอนุรักษ์คลองได้ 5. มีการขับเคลื่อนกติกา/ข้อตกลง ปฎิญญาร่มเมืองอนุรักษ์คลอง ยกระดับเป็นธรรมนูญ
20.00

ภาคีหน่วยงาน องค์กรในชุมชน ต่างให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนมากขึ้น เช่น โรงเรียนจะให้นักเรียนเข้ามาเรียนรู้และทำกิจกรรมของโครงการด้วยทุกครั้ง - หน่วยบริการสุขภาพในชุมชนทั้ง 2 แห่ง ต่างช่วยให้ข้อมูลการเชื่อมโยงของการมีสุขภาพที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่มาจากธรรมชาติ เช่น อากาศดีทีมีต้นไม้ คุณภาพน้ำที่ดีถ้าทุกคนดูแลความสะอาดบริเวณโดยรอบแหล่งน้ำ แหล่งเพาะพันธุ์โรดไม่มีถ้าทุกคนไม่ทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง โดยใช้ อสม.เข้ามาไปกระบอกเสียง

2 เพื่อให้คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิตยกระดับสู่ต้นแบบ
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนมีส่วนร่วมอนุรักษ์คลองเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 100 คน 2. มีคุณภาพน้ำดีขึ้น มีค่าความเป็นกรดด่างและค่าออกซิเจนละลายในน้ำดีขึ้น 3. มีต้นไม้เพิ่มขึ้นตามแนวริมคลองระยะทาง 1 กิโลเมตร 4. มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นความสูง 2 เมตรระยะทางอย่างน้อย 1 กม.และมีการใช้ประโยชน์น้ำเพิ่มขึ้น 5. มีความหลากหลายของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น มากกว่า 10 ชนิด 6. มีพืชอาหารเพิ่มขึ้น มากกว่า 20 ชนิด
100.00 0.00
  • ส่งเสริมการอนุรกษ์ในพื้นที่สาธารณะและระดมคนเชื่อมโยงงานวัฒนธรรม ความเชื่อทำให้เกิดพลังความร่วมมือ เกิดความผูกพันธ์เพิ่มขึ้น
  • ฝายมีชีวิต น้ำคือชีวิต คนมีความรู้ เกิดปัญญามองและวางแผนการบริหารจัดการรอบคอบและรอบด้านคำนึงถึงผลกระทบด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตคน ทำให้สามารถจัดการดูแลทรัพยากรน้ำ/ลุ่มน้ำย่อยสาขาของตนได้ โดยเน้นการมีส่วนร่วมชุมชนและภาคีความร่วมมือทุกภาคส่วน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนท่ี่มีพื้นท่ี่หัวสวน 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนอนุรักษ์คลองนาโอ่มีความเข้มแข็ง (2) เพื่อให้คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิตยกระดับสู่ต้นแบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1 (2) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่1 (3) ปฐมนิเทศโครงการ NFS จังหวัดพัทลุง (4) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 2 (5) เวทีทำความเข้าใจโครงการ (6) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่ 1 (7) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่3 (8) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่2 (9) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่3 (10) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่4 (11) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่4 (12) ค่าตอบแทนในการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (13) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่5 (14) กิจกรรมเวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย (15) กิจกรรมส่งตรวจเอกสารการเงินร่วมกับหน่วยงวดที่1 (16) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่5 (17) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 6 (18) ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1 (19) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่6 (20) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 7 (21) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่ึ7 (22) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8 (23) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่8 (24) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 9 (25) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอครั้งที่9 (26) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10 (27) ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 2 (28) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 1 (29) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่10 (30) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่2 (31) จัดทำป้าย (32) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 3 (33) กิจกรรมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อทำการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยงาน (34) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่่ 2 (35) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่ 3 (36) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (37) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่4 (38) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่5 (39) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่6 (40) ผ้าป่าต้นไม้(เวทีสรุปบทเรียนและนำเสนอข้อมูลต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) (41) จัดทำชุดนิทรรศการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh