directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ม.3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ม.3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-023 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาสาสมัครดูแลสุขภาพผู้สูงอายุหมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี และเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีระยะเวลาโครงการ 10 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,300 บาท ด้วยแกนนำชุมชนบ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานีในการดำเนินโครงการฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานในการดำเนินกิจกรรมในโครงการ ภายใต้กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 3 บ้านดอนรัก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จำนวนรวม 30 คน และกลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ นักศึกษาอาสาสมัคร ประชาชนอาสา และแกนนำชุมชน จำนวนรวม 20 คน รวมทั้งหมด 50 คน โดยมีกิจกรรมในการดำเนินงาน 7 กิจกรรม มีผลลัพธ์ในการกิจกรรม ดังนี้ 1) เกิดคณะทำงานดูแลผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณะสุข อาสาสมัครสาธารณสุข นักศึกษาอาสาสมัคร จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 คณะทำงานในพื้นที่จำนวน 15 คน ประกอบด้วย แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มที่ 2 อาสาสมัคร จำนวน 15 คน ประกอบด้วย นักศึกษาจิตอาสา โดยคณะทำงานดูแลผู้สูงอายุมีแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน 1 แผน การติดตามผลอย่างน้อย 2 เดือน/ 1 ครั้ง และมีข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตผู้สูงอายุจำนวน 1 ชุด 2)อาสาสมัคร /นักศึกษา/ผู้ดูแล แบ่งเป็นอาสาสมัครในพื้นที่จำนวน 15 คน และนักศึกษาจิตอาสา จำนวน 15 คน มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ได้แก่ มีความรู้และเข้าใจวิถีของผู้สูงอายุ มีทักษะการให้กำลังใจและให้คำปรึกษาแก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีทักษะการเยี่ยมบ้าน มีทักษะการประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้นและการส่งต่อแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมีทักษะการนวดเพื่อการผ่อนคลายให้แก่ผู้สูงอายุหรือกิจกรรมสร้างความผ่อนคลายแก่ผู้สูงอายุ 3) มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ คือ มีกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมอาสาพาเพื่อนเยี่ยมเพื่อน กิจกรรมแปลงผักสร้างสุข และกิจกรรมศาสนบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิตผู้สูงอายุสู่การมีสุขภาพจิตดี ส่งผลทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่ผู้สูงอายุ 4) ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี คือ ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุ หรือผู้สูงอายุจำนวน 24 คน มีความสุขเพิ่มขึ้นหลังจากเข้าร่วมโครงการ โดยวัดจากแบบประเมินความสุขผู้สูงอายุเทียบก่อนและหลังการดำเนินโครงการ และแบบประเมิน Health literacy ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พบว่า หลังดำเนินโครงการผู้สูงอายุมีความสุขในการใช้ชีวิตมาก ได้มีโอกาสในการพบปะเพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ได้อยู่กับครอบครัว ลูกหลาน ไม่รู้สึกขาดหายทั้งความรัก ความอบอุ่น รวมไปถึงได้เห็นแกนนำชุมชนได้ให้ความร่วมมือตลอดการดำเนินงาน และผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมเป็นอย่างดี

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ