แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน


โครงการขยายผลพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคง ยั่งยืน พ.ศ. 2561


บ้าน ลูกไม้ไผ่ หมู่ที่ 1 ตำบล ตะโละแมะนา อำเภอ ทุ่งยางแดง จังหวัด ปัตตานี

คำนำ

ตำบลตะโละแมะนา เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี คำว่า ตะโละแมะนา เป็นภาษามลายูพื้นเมือง หมายถึง ที่ราบลุ่มของนางแมะนา ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินโดยมีพื้นที่ครอบครองจำนวนหลายสิบไร่ ในสมัยก่อนซึ่งเป็นร้อยปีมาแล้วในอดีต โดยมีบ้านเรือนมาตั้งที่อยู่อาศัยหลังเดียวแยกจากชุมชน เมื่อราษฎรออกไปประกอบกิจกรรมการเกษตร หรือจับสัตว์น้ำ จึงบอกกันว่าจะไปตะโละแมะนา จึงมีชื่อเรียกต่อๆมาจนติดปากว่าตะโละแมะนา

คณะกรรมการหมู่บ้าน ....................................
วัน.............เดือน...............................พ.ศ.............

สารบัญ

หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.1 วิสัยทัศน์
1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.3 ข้อมูลอาณาเขตพื้นที่หมู่บ้าน
1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นหมู่บ้าน
1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน
1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน
2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน
2.2 จุดแข็งหรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.4 แนวทางแก้ไขและพัฒนาหมู่บ้าน
2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

ส่วนที่ 3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
3.1 แผนงาน/โครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ประจำปี 2561
- ด้านความมั่นคง
- ด้านการสร้างความเข้าใจ
- ด้านการพัฒนา

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1.1 วิสัยทัศน์
บ้านลูกไม้ไผ่ ชุมชนพหุวัฒนธรรม สู่ความมั่นคงในการดำเนินการดำรงชีพหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1) พิกัด
6.6069536913054,101.39985069988
แผนที่เดินดิน


2) ประวัติหมู่บ้าน

ประวัติหมู่บ้านหมู่ที่ ๑ บ้านลูกไม้ไผ่ หมายถึง ต้นไผ่ที่สามารถออกดอกผลได้ ที่มาของชื่อเล่าสืบต่อกันมาแต่เดิมว่า บ้านลูกไม้ไผ่เดิมมีสภาพเป็นป่ามีต้นไผ่ขึ้นอยู่มากและในคราวหนึ่งต้นไผ่ออกดอกและมีผลสีแดง ผู้พบเห็นจึงเล่าสืบกันมาและเรียกพื้นที่บริเวณป่าไผ่นี้ว่า ลูกไม้ไผ่ ต่อมามีราษฎรชาวไทยพุทธ จากบ้านเมืองยอน ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ และราษฎรบ้านควน ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ย้ายมาจับจองที่ทำกิน และได้ตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยจนมีสภาพเป็นชุมชนขึ้น เมื่อตั้งหมู่บ้านจึงได้ชื่อหมู่บ้านว่า ลูกไม้ไผ่ ตามที่เรียกสืบกันมา มีกลุ่มบ้านอื่นอีก ชื่อว่า บ้านโคกมุด บ้านขนำใน -บ้านโคกมุด (บาโงมาแจ) บาโง แปลว่า เนิน, โคก มาแจ หมายถึง พันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งตระกูลเดียวกันกับมะม่วง ภาษาไทยภาคใต้เรียก ลูกมุด ภาษาไทยภาคกลาง เรียก หมากมุด บ้านโคกมุด สภาพพื้นที่เป็นที่ราบเชิงเขามีต้นมะมุด (หมากมุด) ขึ้นอยู่ทั่วไป เดิมสภาพเป็นชุมชนก่อน บ้านลูกไม้ไผ่ แต่บ้านเรือนราษฎรต้องอยู่กระจายเป็นไม่เป็นกลุ่มก้อน เมื่อบ้านลูกไม้ไผ่เป็นชุมชนที่ใหญ่กว่าและบ้านเรือนตั้งอยู่เป็นกลุ่ม บ้านโคกมุดจึงกลายเป็นกลุ่มบ้านที่อยู่ในหมู่บ้าน - บ้านขำใน (บ้านขนำใน) ขนำ เป็นภาษาไทยท้องถิ่นภาคใต้ หมายถึง ที่พักระหว่างทาง หรือที่พักชั่วคราวขณะปฏิบัติภารกิจการงาน ภาษาไทยกลาง หมายถึง เพิง (เพิงรักริมนา เพิงนา) บ้านขำใน สภาพเดิมเป็นสวนยางพารา ชาวนาในสวนออกมากรีดยางใช้เป็นที่พักชั่วคราวในระหว่างการกรีดยางพารา ต่อมาได้ตั้งบ้านเรือนถาวรอยู่อาศัย แต่ยังใช้ชื่อซึ่งเรียกแต่เดิมมา



3) โครงสร้างคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)/อพป.

นายรอมลีดายะ0810940427ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน

นางสาวตวนซูมัยดะห์ ตูแวจาโกหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอำนวยการ

นายหะมะสะอะหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านการปกครองและรักษาความปลอดภัย

นายอับดุลเลาะบาเฮงหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน

นายภัคดิ์เพ็ชรัตน์หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ

นายมะนาพีสาและหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสุข

นางจิรพรตามเพิ่มหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

นายอับดุลเลาะรอหะลือแบซาหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอื่นๆ


4) ศูนย์ราชการในหมู่บ้าน
(ทั่วไปมีอะไรบ้างได้แก่ วัด มัสยิด โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีอนามัย ป้อมตำรวจ ศูนย์เด็กฯ หอกระจายข่าว ศาลาหมู่บ้าน รวมถึง หน่วยราชการต่างๆ)

มัสยิด๑ โรงเรียน๑ โรงพยาบาล๑ สถานีอนามัย๑ ป้อมตำรวจ๑ ศูนย์เด็ก๑ อำเภอ ๑



1.3 ข้อมูลอาณาเขตในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ
ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอจังหวัดปัตตานีทิศใต้ ติดต่อกับ
ตำบลท่าธงอำเภอรามันจังหวัดยะลาทิศตะวันออก ติดต่อกับ
ตำบลน้ำดำอำเภอทุ่งยางแดงจังหวัดปัตตานีทิศตะวันตก ติดต่อกับ
ตำบลวังพญา อำเภอรามันจังหวัดยะลาตำบลเขาตูมอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

2) ลักษณะภูมิประเทศ
(ได้แก่ ภูมิอากาศและฤดูกาล เช่น มีสภาพื้นที่ราบลุ่ม ฤดูร้อนอากาศร้อนมาก หรือฤดูฝน ฝนตกหนัก ตกไม่แน่นอน สภาพอากาศเหมาะสำหรับการประกอบอาชีพทำนา เพาะปลูก หรือเลี้ยงสัตว์อะไร)

ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ลาดเชิงเขาดินสู่ที่ราบต่ำจนถึงลุ่มน้ำเขตแบ่งตำบล ในฤดูน้ำหลากมีน้ำไหลผ่านชุมชนลงสู่ที่ต่ำและมีที่ราบลุ่มลักษณะเป็นทุ่งกว้างเหมาะสมในการทำการเกษตร ชุมชนส่วนใหญ่ตั้งอยู่ที่ราบสูงเชิงเขาดินและป่าโปร่ง บางส่วนตั้งอยู่สองข้างทางหลวงหมายเลข 4571สายพิเทน-โกตาบารู



1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ประชากรของหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 1157 คน แยกเป็น เพศชาย 586 คน / เพศหญิง 571 คน

2) เยาวชนในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 169 คน แยกเป็น เพศชาย 67 คน / เพศหญิง 107 คน
("เด็ก" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์ "เยาวชน" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 14 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์)

3) ผู้สูงอายุในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 45 คน แยกเป็น เพศชาย28 คน / เพศหญิง17 คน
(อายุ 60 ปีขึ้นไป)

4) ประชากร/ครัวเรือนยากจน
(รายได้ไม่ถึง 30,000 บาท/คน/ปี ยึดข้อมูล จปฐ. ปี 2560)
- ประชากรในหมู่บ้านมีรายได้ จำนวน 150678.57 บาท/คน/ปี
- ครัวเรือนยากจน จำนวน 4 ครัวเรือน

5) เด็กกำพร้า จำนวน 16 คน แยกเป็น เพศชาย 6 คน/ เพศหญิง 10 คน

6) คนพิการ จำนวน 12 คน แยกเป็น เพศชาย 4 คน / เพศหญิง 8 คน

7) ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 6 คน แยกเป็น เพศชาย 4 คน / เพศหญิง 2 คน

1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) การศึกษาสายสามัญ จำนวน 184 คน แยกเป็น เพศชาย 89 คน / เพศหญิง95 คน

2) การศึกษาสายอาชีพ จำนวน 48 คน แยกเป็น เพศชาย 12 คน / เพศหญิง 36 คน

3) การศึกษาทางศาสนา จำนวน 16 คน แยกเป็น เพศชาย 4 คน / เพศหญิง 12 คน

4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 41 คน แยกเป็น เพศชาย 20 คน / เพศหญิง 21 คน
- การศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศ
ระดับปริญญาตรีจำนวน 39 คน แยกเป็น เพศชาย 18 คน / เพศหญิง 21 คน
ระดับปริญญาโท จำนวน 1 คน แยกเป็น เพศชาย 1 คน / เพศหญิง คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน

- การศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างประเทศ
ระดับปริญญาตรี จำนวน 1 คน แยกเป็น เพศชาย 1 คน / เพศหญิง คน
ระดับปริญญาโท จำนวน คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน

5) สถานศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
- โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา จำนวน แห่ง
- สถาบันปอเนาะ จำนวน 1 แห่ง
- ตาดีกา จำนวน 1 แห่ง
- อื่น


1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ผู้นับถือศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
- ศาสนาอิสลาม จำนวน 1008 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน 99
- ศาสนาพุทธ จำนวน 149คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน 1
- ศาสนาอื่นโปรด จำนวน คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน

2) ศาสนสถานในพื้นที่หมู่บ้าน
- มัสยิด จำนวน 1 แห่ง
- บาราเซาะ /สุเหร่า จำนวน 2แห่ง
- วัด จำนวน 0แห่ง
- สำนักสงฆ์ จำนวน 1แห่ง
- ที่พักสงฆ์ จำนวน 0 แห่ง
- อื่นๆ ระบุ

1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาชีพหลักประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น ค้าขาย ทอผ้า หรือรับจ้างทั่วไป เป็นต้น)
ระบุอาชีพ ค้าขาย จำนวน 8 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ รับจ้างทั่วไป จำนวน 179 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

2) อาชีพเสริมประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น)
ระบุอาชีพ เกษตรกรรม จำนวน 243 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ เลี้ยงสัตว์ จำนวน 38 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

3) ภูมิปัญญา/ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจของหมู่บ้าน

ฝาชีแฟนซี, สตอดอง ,น้ำยาล้างจาน,กะเป๋าจักรสาน(จากซองกาแฟ)


4) ข้อมูลศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อสถานที่ โรงเรียนทุ่งยางแดงพิทยาคม ชื่อผู้รับผิดชอบ นางต่วนฟาตีฮะ หัวเมือง เบอร์โทร 0831690477
- ชื่อสถานที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชื่อผู้รับผิดชอบ นางนุสรีสังข์สุมล เบอร์โทร 0819694759
- ชื่อสถานที่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชม(กศน) ชื่อผู้รับผิดชอบ นางปิยเนตร นิมุ เบอร์โทร 0817388421
- ชื่อสถานที่ ศูนย์ผู้สูงอายุ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร

5) หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน (เช่น ปั๊มน้ำมัน โรงสี ร้านค้า)จำนวน 5 แห่ง

6) ข้อมูลกลุ่มหรือองค์กรในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มสตรี จำนวนสมาชิก 15 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มทำฝาชีแฟนซี จำนวนสมาชิก 15 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มทำสตอดอง จำนวนสมาชิก 15 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน

7) กองทุนในหมู่บ้าน
จำนวน 0 แห่ง
เช่น กองทุน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน

1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1) แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง

2) ประเพณีวัฒนธรรมที่สำคัญของหมู่บ้าน (เช่นประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีกวนอาซูรอ เป็นต้น)

ประเพณีเมาลิด ประเพณีลอยกระทงประเพณีกวนอาซูรอ



1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ถนน
ข้อมูลการเดินทางเข้าหมู่บ้าน จากอำเภอ ทุ่งยางแดงใช้ทางหลวงสาย 9406 ระยะ 3 กิโลเมตร

- ถนนลาดยาง จำนวน 1สาย ได้แก่
ชื่อถนน โคกมุด ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร

- ถนนลูกรัง จำนวน สาย ได้แก่
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร

2) การไฟฟ้า (มีไฟฟ้าใช้ครอบคลุมทุกครัวเรือนในหมู่บ้าน ) คิดเป็นร้อยละ 100

3) แหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำสาธารณะ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ชื่อลำน้ำ/แหล่งน้ำไหลผ่านหมู่บ้านสภาพแหล่งน้ำ
1
2
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น ตื้นเขิน กักเก็บน้ำได้น้อย ในฤดูแล้งไม่มีน้ำ
แหล่งน้ำสาธารณะ
ชื่ออ่างเก็บน้ำ/สระน้ำ/หนองน้ำขนาด/ความจุ ต่อไร่สภาพแหล่งน้ำ
1 บ้านลูกไม้ไผ่ ๓๐ ลูกบาศเซนติเมตร น้ำใช้ได้ตลอดปี
2
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำตื้นเขิน น้ำใช้ได้ตลอดปี น้ำใช้ไม่ตลอดปี

4) พื้นที่ป่าชุมชน
- ชื่อป่าชุมชน จำนวนพื้นที่ ไร่
- ชื่อป่าชุมชน จำนวนพื้นที่ ไร่

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน

2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน

2.1.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

(1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (2)แนวทางการสรางความสมานฉันท (3)การเปดโอกาสใหทุกภาคสวนในสังคม



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

(1)การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (2)การสร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน (3)การเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการอยู่ร่วมกันกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสันติและเกื้อกูล



2.1.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

(1)การปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม (2)การพัฒนาคุณภาพประชาชนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
(3)การส่งเสริมการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นองค์รวม



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

(1)เศรษฐกิจพอเพียงเน้นเกษตรทฤษฎีใหม่ (2)ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3)ผลิตภัณฑ์ชุมชน



2.1.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข (1)เอื้อเฝื่อเผื่อแผ่ (2)ช่วยเหลือกันยามลำบาก (3)ไม่ลักขโมย



2.2 จุดแข็ง หรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน

2.2.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.2.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.2.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาของหมู่บ้าน

2.3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.3.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.4 แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน

2.4.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.4.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.4.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (ระบุไม่เกิน 5 โครงการ)

2.5.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.5.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.5.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



ส่วนที่3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์คนดี มีคุณธรรม
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่รอด ปลอดภัย
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์อยู่เย็น เป็นสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่ดี กินดี
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการสร้างความเข้าใจ
1) ยุทธศาสตร์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6