Node Flagship

directions_run

จัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ รพ.สต. สะเตงนอก

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน (2) ส่งต่อจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขเองร้อยละ100 (3) มีป้าย/สื่อรณรงค์ตามจุดเสี่ยงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีปฐมนิเทศ และจัดทำสัญญาโครงกรย่อยฯ "Node Flagship จังหวัดยะลา" (2) คีย์ข้อมูลรายงาน (3) กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน (4) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ (5) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงาน (6) จัดทำป้ายชื่อโครงการฯและป้ายบรรไดผลลัพท์ (7) เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูล (8) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่อง กฏจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย (9) เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ(์Node Flagship) ระดับจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 (10) กิจกรรมที่ 4 ปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (11) กิจกรรมที่ 5 การสำรวจข้อมูลอุบัตเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข (12) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ (13) เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อยฯ ระดับหน่วยจัดการฯ (14) กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแก่ชุมชน (15) กิจกรรมที่ 7 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ คนในชุมชนมีความรู้ที่เพิ่มขึ้นและเกิดความตระหนักในการที่จะป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนให้ลดลงมากขึ้น ทำให้ประชาชนมีความเฝ้าระวังการขับขี่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เนื่องด้วยสภาพแวดล้อมหลังจากได้ขับเคลื่อนและแก้ไขทำให้คนในชุมชนมีอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ดังนี้ ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่จราจร ลดลงร้อยละ 68.54 โดยมีพฤติกรรมสวมหมวดกันน็อกก่อน 1,236 คน หลัง 2,286คน สวมเพิ่มขึ้นจำนวน 1,050 คน คิดเป็นร้อยละ 84.95 มีพฤติกรรมขับรถเร็ว ก่อน 700 คน หลัง 420 คน ขับรถเร็วลดลง จำนวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 มีพฤติกรรมเมาแล้วขับก่อน 140 คน หลัง 70 คน เมาแล้วขับลดลง จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 มีพฤติกรรม มีพฤติกรรมขับรถย้อนศรก่อน 144 คน หลัง 36 คน ขับรถย้อนศรลดลง จำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม (จุดเสี่ยง) รวมทั้งหมด 6 จุด ได้ดำเนินการปรับปรุงจุดเสี่ยงเอง จำนวน 2 จุด ได้แก่จัดตั้งทำป้ายเตือนในการขับขี่ และได้ส่งต่อให้เทศบาลเมืองสะเตงนอกดำเนินการจำนวน 4 จุด ได้แก่ ติดตั้งสัญญานไฟจราจร จำนวน 2 จุดเสี่ยง(สี่แยกนัดโต๊ะโมง,สี่แยกตือโล๊ะกือบอ) ติดตั้งป้ายเตือนจราจรจำนวน 1 จุด และติดตั้งเหล็กกั้นบริเวณสะพาน จำนวน 1 จุด มีการจัดปรับปรุงทัศนวิสัยในการมองเห็นในชุมชน โดยทำร่วมกับภาคีเครือข่ายเทศบาลเมืองสะเตงนอก มีการรณรงค์สวมหมวกกันน็อคในชุมชน และโรงเรียน ,เมาไม่ขับ , ไม่ขับย้อนศร , ไม่คุยโทรศัพท์ขณะขับรถ , จอดถูกที่ถูกทาง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยงต่างๆ มีการอบรมฟื้นฟูความรู้ด้านกฎหมายจราจร/การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้และขับขี่อย่างปลอดภัย การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ก่อน135 ครั้ง หลัง 34 ครั้ง มีจำนวนลดลง 101 ครั้งคิดเป็นร้อยละ 74.81 โครงการนี้ได้มี คณะทำงาน และภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม และขับเคลื่อน ซึ่งประกอบด้วย เทศบาลเมืองสะเตงนอก โรงพยาบาลยะลา ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชมรมจักรยาน อสม. เพื่อสามารถต่อยอด และขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืนได้

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ