Node Flagship

directions_run

จัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ รพ.สต. สะเตงนอก

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
เวทีปฐมนิเทศ และจัดทำสัญญาโครงกรย่อยฯ "Node Flagship จังหวัดยะลา" 3 มิ.ย. 2020 3 มิ.ย. 2020

 

กิจกรรมปฐมนิเทศ และจัดทำสัญญาโครงกรย่อยฯ "Node Flagship จังหวัดยะลา" มีกิจกรรมดังนี้ -อธิบายทำความเข้าใจหลักการ และเป้าหมายของโครงการย่อยฯ ไปในทิศทางเดียวกัน -อธิบายแนวทางการดำเนินงานในนามของผู้รับทุน สสส. ได้แก่ การดำเนินการตามสัญญาโครงการ,การเงิน และแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามงวดงานอย่างชัดเจน

 

-แกนนำโครงการย่อยฯ เข้าใจหลักการ และเป้าหมายของโครงการ ไปในทิศทางเดียวกัน -แกนนำเข้าใจแนวทางการดำเนินงานในนามของผู้รับทุน สสส. ได้แก่ การดำเนินการตามสัญญาโครงการ,การเงิน และแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามงวดงานอย่างชัดเจน

 

คีย์ข้อมูลรายงาน 4 มิ.ย. 2020 29 มี.ค. 2021

 

จ้างเจ้าหน้าที่จัดทำรายงานความก้าวหน้าและพิมพ์ในระบบออนไลน์ คนใต้สร้างสุข

 

งวดที่ 1 มีรายละเอียดดังนี้ 1.คีย์รายงานการดำเนินกิจกรรมในระบบติดตามความก้าวหน้าออนไลน์ครบถ้วนทุกกิจรรมในงวดที่ 1 2.จัดทำรายงานต่างๆตามรายละเอียดไฟล์ที่แนบในระบบรายงานออนไลน์
2.1 รายงานการประชุมครั้งที่ 1 และคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
2.2 รายงานการอบรมคณะกรรมการโครงการฯ 2.3 รายงานการประชุมติดตามงานของคณะกรรมการ ครั้งที่ 3 งวดที่ 2,3 มีรายละเอียดดังนี้ 1.พิมพ์รายงานการดำเนินกิจกรรมในระบบติดตามความก้าวหน้าออนไลน์ครบถ้วนทุกกิจรรมในงวดที่ 2,3 2.จัดทำรายงานต่างๆตามรายละเอียดไฟล์ที่แนบในระบบรายงานออนไลน์
2.1 รายงานสถิติอุบัติเหตุบริเวณที่ได้รับการแก้ไข
2.2 รายงานสถิติอุบัติเหตุในพื้นที่รพ.สต.สะเตงนอก
2.3 สื่อนำเสนอในเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE

 

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน 3 ก.ค. 2020 3 ก.ค. 2020

 

ครั้งที่ 1 วันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ประชุมคลี่โครงการ  โดยมีนางสปีเนาะ กะโด เป็นประธานการประชุม กิจกรรมประชุมครั้งนี้ 1.ชี้แจ้งทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน พร้อมการจัดตั้งคณะกรรมการ 2.แบ่งบทบาทหน้าที่
3.วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2 วันที่ 25 กันยายน 2563 ประชุมสรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 โดยนางสปีเนาะ กะโด เป็นประธาน มีลายอะเอียดกิจกรรมดังนี้ 1.ติดตามการดำเนินโครงการย่อยๆ 2.ประเมินคณะกรรมทำงาน 3.ติดตามการคีย์ข้อมูลโครงการย่อยๆ ครั้งที่ 3 วัน 29 มกราคม 2564 ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 1.สรุปผล ติดตามผลงานตามบันไดผลลัพธ์ของโครงการฯ 2.เสนอปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานในกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 3.เสนอแนะ แนวทางในการแก้ปัญหากิจกรรมในโอกาสต่อไป 4.จัดทำแผนปฏิบัติการในงวดที่ 3 ครั้งที่ 4 วันที่ 9 เมษายน 2564 ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3 1.สรุปผล ติดตามผลงานตามบันไดผลลัพธ์ของโครงการฯ 2.เสนอปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานในกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 3.สรุปโครงการ

 

ผลลัพท์ประชุมครั้งที่1
1. ได้จัดตั้งคณะทำงานโครงการ จำนวน 45 คน
2. กำหนดโครงสร้างหน้ารับผิดชอบของคณะทำงาน 3. คณะทำงานสามารถหาสาเหตุของปัญหาได้
4. มีแนวทางแก้ไขปัญหา

 

เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ 6 ก.ค. 2020 6 ก.ค. 2020

 

การพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยกิจกรรมเวที่สนับสนุนการดำเนินงานด้านการจัดการข้อมูลผลลัพธ์ โดยมีกิจกรรมดังนี้ - นายประพันธ์ สีสุข ได้กล่าวเปิดประชุม และชี้แจ้งวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรม - นายรุสลาม สาร๊ะ หน่วยจัดการ เน้นย้ำในการบันทึกข้อมูลผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการ - น.ส.วัลมา หะยีสะมะแอ หน่วยจัดการฯ ชี้แจ้งเอกสารด้านการเงินและหลักการเบิกจ่ายงบประมาณ - วิทยากร ได้ถ่ายทอดแนวทางและวิธีการสำคัญในการเข้าบันทึกผลการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการย่อยฯ ทุกขั้นตอน

 

กิจกกรรมฝึกการใช้งานโปรแกรม รายงานผล
ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ ดังนี้ - ได้ทราบถึงวัตถุประสงค์/เป้าหมายในการใช้โปรแกรมรายงาน - ได้เรียนรู้แนวทาง/ขั้นตอนการรายงานผลการดำเนินงานของโครงการย่อยฯ

 

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงาน 9 ก.ค. 2020 10 ก.ค. 2020

 

อบรมคณะทำงาน จำนวน 2 วัน มีขั้นตอนตั้งนี้ 1) วันที่ 9 กรกฎาคม 2563 เชิญวิทยากร นายอับดุลรอฮิม โตงนุแย จากโรงเรียนสอนขับรถย์ มาให้ความรู้คณะทำงานเรื่องกฎหมายจราจร ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์จุดเสี่ยงในพื้นที่ และแนวทางในการแก้ไขจุดเสี่ยง 2) วันที่10 กรกฎาคม 2563 คณะทำงานร่วมวิเคราะห์จุดเสี่ยงในพื้นที่ ลงพื้นที่ดูจุดเสี่ยง และหาแนวทางในการแก้ไขจุดเสี่ย

 

1.คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายจราจร 2.คณะทำงานมีความรู้ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอบุติเหตุทางท้องถนน 3.คณะทำงานได้วิเคราะห์จุดเสี่ยงในพื้นที่ และกำหนดจุดเสี่ยงเพื่อแก้ปัญหา 4.สรุปแนวทางการแก้ปัญหาจุดเสี่ยง และมาตรการแก้ปัญหา

 

จัดทำป้ายชื่อโครงการฯและป้ายบรรไดผลลัพท์ 9 ก.ค. 2020 9 ก.ค. 2020

 

1.เสนอรูปแบบป้ายไวนิลโครงการฯและป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ 2.ขนาด ยาว 2 เมตร สูง 1 เมตร

 

มีป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ยาว 2 เมตร สูง 1 เมตร จำนวน 2 ป้าย คือ ป้ายโครงการ และ ป้ายบันไดผลลัพธ์ โดยมีสัญลักษณ์ สสส. สัญลักษณ์รณรงค์ห้ามสูบบุหรี่ และสัญลักษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมทุกกิจกกรรมในโครงการฯ

 

เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูล 15 ส.ค. 2020 15 ส.ค. 2020

 

1 ลงทะเบียน 2 ชี้แจงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของกิจกรรม โดยนายประพันธ์ สีสุข 3 เรียนรู้หลักการบันไดผลลัพธ์ของโครงการย่อย และเชิงประเด็น โดย อจ.สุวิทย์ หมาดอะดำ 4 ทบทวนบันไดผลลัพธ์ของโครงการที่รับผิดชอบ แก้ไขให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ 5 การออกแบบการเก็บข้อมูลเพื่อตอบผลลัพธ์เชิงประเด็น

 

1 มีการแก้ไขบันไดผลลัพธ์ของโครงการย่อย เพื่อให้มีความสอดคล้องกับโครงการย่อยที่รับผิดชอบ 2 มีรูปแบบการเก็บข้อมูลเพื่อตอบผลลัพธ์เชิงประเด็น

 

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่อง กฏจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย 20 ส.ค. 2020 20 ส.ค. 2020

 

ลงทะเบียน เปิดโครงการ โดย นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสะเตงนอก กล่าวนำความเป็นมาของโครงการ โดยนางสปีเนาะ กะโด ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อบรมแกนนำ จำนวน 120 คน โดยเชิญวิยากรมาให้ความรู้ ดังนี้ 1.เรื่องกฎหมายจราจร โดย คณะทำงาน ที่ผ่านการอบรมวันที่ 10-11 กรกฏาคม 2563 2.การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดย นายอับดุลเลาะห์ บาเหะ พยาบาลวิชาชพชำนาญการ 3.การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR และสาธิตด้วยหุ่นโดย นายอับดุลเลาะห์ บาเหะ พยาบาลวิชาชพชำนาญการ และคณะ 4.การช่วยชีวิตโดยเครื่องกรตุ้นหัวใจอัตโนมัติ AEDและสาธิต โดย นายอับดุลเลาะห์ บาเหะ พยาบาลวิชาชพชำนาญการ และคณะ

 

1.ประชาชนมีความรู้เรื่อง กฏหมายจราจร และนำความรู้ไปใช้ได้จริงในการขับขี่ยานพาหนะในชีวิตประจำวัน 2.ประชาชนสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ กรณีมีอุบัติเหตุทางท้องถนน เพื่อลดการบาดเจ็บรุนแรง 3.ประชาชนสามารถช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน CPR และสมารถใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจอัตโนมัติ AED กรณีพบผู้ประสบอุบัติเหตุทางท้องถนน ที่หมดสติและหัวใจหยุดเต้น เพื่อลดจำนวน และอัตราการเสียชีวิตทางท้องถนน

 

เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ(์Node Flagship) ระดับจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 23 ต.ค. 2020 23 ต.ค. 2020

 

วันที่ 23 ตุลาคม 2563 ถึงที่พัก ประชุมวางแผน และเตรียมตัวนำเสนอ วันที่ 24 ตุลาคม 2563 1.ลงทะเบียน 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินโครงการฯ ตามโซน 3.บททวนบันไดผลลัพธ์ 4.นำเสนอผลการดำเนินงานบนเวทีกลาง วันที่ 25 ตุลาคม 2563 1.ลงทะเบียน 2.ฟังบรรยายวิธีการรายงานความคืบหน้าของกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3.เดินทางกลับบ้านโดยสวัสดิภาพ

 

ได้นำเสนอความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ และข้อแนะนำในการปรับปรุง แก้ไขกิจกรรม

 

กิจกรรมที่ 4 ปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย 18 ม.ค. 2021 20 ม.ค. 2020

 

กิจกรรมที่ 1 ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตราย - ติดป้ายเตือนผู้ใช้รถ ป้ายทางแยก ป้ายทางโค้ง ป้ายลดคงามเร็วในชุมชน - ทำความสะอาดผิวถนน - ตัดแต่งบริเวณรืมถนนให้สะดวกในการวิ่งของรถ กิจกรรมที่ 2 เก็บข้อมูลจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

 

-มีป้ายบริเวณจุดเสี่ยงที่กำหนด -บนถนน และข้างทางมีความสะอาดและปลอดภัยในการขับขี่

 

กิจกรรมที่ 5 การสำรวจข้อมูลอุบัตเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข 23 ม.ค. 2021 18 ม.ค. 2021

 

คณะทำงานลงเก็บข้อมูลบริเวณจุดเสี่ยง 3 ครั้ง -ข้อมูลประชาชนสวมหมวกกันน็อก ก่อน-หลัง -ข้อมูลความเร็วของรถที่ขับขี่ เก็บข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่

 

คณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูลที่สำรวจ - ผลการสำรวจประชาชนใส่เครื่องป้องกันขณะขับขี่ ไม่ค่อยแตกต่างหลังปรับจุดเสี่ยง - ผลการสำรวจประชาชนขับขี่ด้วยความเร็วไม่เกินกำหนดตามกฏหมาย ดีขึ้นหลังปรับจุดเสี่ยง

 

อื่นๆ (ค่าวัสดุในการจัดอบรม) 23 ม.ค. 2021 23 ม.ค. 2021

 

ดำเนินในการจัดกิจกรรมอบรมต่างๆ -จัดอบรมให้ความรู้ วางแผนการทำงานร่วมกัน ของคณะทำงาน -จัดทำกิจกรรมต้นไม้ปัญหา -จัดทำกิจกรรมสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุก่อนและหลังแก้ไข -จัดทำกิจกรรมสรุปผลเวทีแลกเปลี่ยนร่วมกัน

 

ผลที่เกิดขึ้น -ทำให้สามารถจัดกิจกรรมดำเนินงานได้สะดวก สบาย และสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี -ช่วยในการสื่อสาร ในการประชุม ให้เข้าเข้าง่ายขึ้น และลดขั้นตอนในการทำความเข้าใจ -ทำให้ความควบคุมในเรื่องของระยะเวลาในการจัดอบรม และทำกิจกรรมต่างๆได้

 

เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ 16 ก.พ. 2021 16 ก.พ. 2021

 

1.ลงทะเบียน 2.รองนายแพทย์สสจ.ยะลา กล่าวเปิดพิธี 2.นำเสนอผลการดำเนินงานแต่ละโครงการ 3.สรุปปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

 

นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการฯ เพื่อเป็น Model ในภาพจังหวัด

 

เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อยฯ ระดับหน่วยจัดการฯ 24 มี.ค. 2021 24 มี.ค. 2021

 

1.ลงทะเบียน 2.สังเคราะห์และสกัดบทเรียน 3.สรุปผล

 

จากการดำเนินงานโครงการอุบัติเหตุ ต้องมีหน่วยงานต่างๆหลายภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อความยังยื่นและบรรลุวัตถุประสงค์ตามยุทธศาสตร์ของจังหวัดยะลา

 

กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแก่ชุมชน 25 มี.ค. 2021 25 มี.ค. 2021

 

คืนข้อมูลแก่ชุมชนดังต่อไปนี้ 1.คณะกรรมการสำรวจสถิติอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงในพื้นที่ก่อนและหลังปรับปรุงแก้ไข
2.คณะกรรมการสำรวจสถิติอุบัติเหตุในพื้นที่เขต รพ.สต.สะเตงนอก เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
3.ประสานหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ประชาชนที่สนใจ จำนวน 120 คน 4.นำเสนอผลงานการดำเนินกิจกรรมโครงการ การปรับปรุงจุดเสี่ยง และข้อมูลสถิตอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข และข้อมูลอุบัติเหตุในพื้นที่ รพ.สต.สะเตงนอก 5.รวมกันเสนอ และวิเคราะห์หาแนวทางปรับปรุงจุดเสี่ยงในพื้นเพิ่มเติม

 

1.หน่วยงานในพื้นที่และประชาชนรับรู้ผลจากการจัดทำโครงการฯ ส่งผลให้อุบัติเหตุในพื้นที่ลดลง 2.ประชาชนตระหนักเรื่องกติกาชุมชนมากขึ้นเพื่อให้อุบัติเหตุลดลง
3.มีสถิติเปรียบเทียบอุบัติเหตุ ก่อนและครั้งดำเนินโครงการ

 

กิจกรรมที่ 7 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 29 มี.ค. 2021 29 มี.ค. 2021

 

1.ลงทะเบียน 2.คืนข้อมูลโครงการ 3.เปิดโอกาสให้หน่วยงานที่เข้าประชุมเสนอความเห็นและแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไป 4.นำข้อมูลการแลกเปลี่ยนไปนำเสนอและพูดคุยในเวทีสถาสันติสุขอีกครั้ง

 

หน่วยงานในพื้นที่ตั้งเทศบาลเมืองสะเตงนอก ผู้นำศาสนา ผู้ใหญ่บ้าน อสม ในพื้นที่ รพ.สต.สะเตงนอก เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ โดยแต่ละส่วนเมื่อฟังข้อมูลจากการคืนข้อมูลแล้ว เสนอให้แต่ละหน่วยงานแบ่งหน้าที่ดูแล และสานต่อเพื่อให้โครงการฯ บรรลุวัตถุประสงค์และยั่งยืน ดังนี้ 1.เทศบาลเมืองสะเตงนอก ปรับปรุงเส้นทางจราจร ปิดป้ายสัญลักษณ์แบบถาวร รอเข้าแผนงบเทศบาลเมืองสะเตงนอก 2.ผู้นำศาสนา ผู้ใหญ่บ้าน อสม สอดส่งดูแล ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ด้านกฎจราจร และรายงานข้อมูลอุบัติเหตุ 3.รพ.สต. ส่งแผนอบรมฟื้นฟูกฎหมายจราจร การปฐมพยาบาล และรณรงค์การสวมหมวกกันน็อค โดยของบประมาณจาก งบกองทุนฯ เทศบาลเมืองสะเตงนอก      เมื่อมีการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้ว นำข้อมูลที่ได้ไปนำเสนอในเวทีสภาสันติสุขอีกครั้ง