directions_run

บ่อร้างสร้างคุณค่า เลี้ยงปลากะชังเสริม ปลูกผักเพิ่ม เติมรายได้ให้ชาวเกาะพุด

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ่อร้างสร้างคุณค่า เลี้ยงปลากะชังเสริม ปลูกผักเพิ่ม เติมรายได้ให้ชาวเกาะพุด
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-01504
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557
งบประมาณ 166,450.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผญ.ชะอ่อน เดชศรี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสุธรรม แก้วประดิษฐ์
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 5 บ้านเกาะพุด ตำบลคลองกระบือ อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2556 31 ม.ค. 2557 1 ก.ย. 2556 31 ม.ค. 2557 66,580.00
2 1 ก.พ. 2557 31 ก.ค. 2557 1 ก.พ. 2557 31 ส.ค. 2557 83,225.00
3 1 ส.ค. 2557 31 ส.ค. 2557 16,645.00
รวมงบประมาณ 166,450.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดการใช้สารเคมีภาคเกษตร โดยการเลี้ยงปลาในบ่อร้าง ปลูกผักปลอดสารพิษ และสร้างมูลค่าโดยการทำน้ำหมักชีวภาพจากหอยเชอรีและเศษพืชผักจากครัวเรือน
  1. มีกลุ่มเลี้ยงปลา กะชังในบ่อร้าง หรือ ริมคลอง จำนวน อย่างน้อย 25 คน
  2. มีกลุ่มแปลงผักปลอดสารพิษในชุมชน โดยมีจำนวนสมาชิกอย่างน้อย 25 คน
  3. ครัวเรือนที่ร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มมากขึ้น
2 เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเรื่องเกษตรในครัวเรือนลดสารเคมี สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ
  1. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ นวัตกรรม ผลิตผล ที่ศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ทุก สัปดาห์
  2. คนในชุมชนมีการรวมกลุ่มจัดการด้านเกษตรอินทรีย์ อย่างต่อเนื่อง เกิดความสามัคคีในชุมชน
3 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชน โดยการร่วมกันขับเคลื่อนสร้างชุมชนเข้มแข็งและน่าอยู่โดยการสนับสนุนให้เกิดการลด ละ เลิก อบายมุข
  1. แกนนำมีการประชุมต่อเนื่องทุกเดือน
4 เพื่อบริหารและติดตามความก้าวหน้าโครงการ

กิจกรรมมีการดำเนินการตามแผน ร้อยละ 80

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมแกนนำเพื่อ วางแผน สำรวจและวิเคราะห์ เพื่อรวมกลุ่มเลี้ยงปลาในกะชัง  และกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ  ร่วมกับเครือข่ายในชุมชน และให้ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนจัดทำบัญชีครัวเรือน
  2. จัดประชุมกลุ่มผู้ร่วมโครงการเพื่อแบ่งงาน และพัฒนางานต่อเนื่อง ร่วมกับกลุ่มอาชีพโดยตั้ง เป็น โซน
  3. จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมวิธีเลี้ยงปลาในกะชังแต่ละขั้นตอน เลี้ยงปลากะชัง การปลูกผัก ไร่นาอินทรี การทำน้ำหมักชีวภาพ 4.ประชุมเชิงปฏิบัติการในแปลงสาธิต จากวิทยากรและผู้มีประสบการณ์ในแปลงสาธิต
  4. จัดเตรียมบ่อ โดยการลงแขกลอกบ่อ ผลัดกัน แต่ละครัวเรือน โดยการร่วมกันจัดหา และจัดซื้ออวน ไม้ไผ่ มาประกอบทำกะชังให้ลอยน้ำได้ตามระดับการขึ้นลงของน้ำ ครัวเรือนละ 1 ชุด แยกโซนหมู่บ้านเป็น 5 โซน และจัดการสาธิตการตัดอวน โดยผู้ที่มีความชำนาญ 6.  จัดหา พันธ์ปลาหมอ ปลาดุก ปลาทับทิม ปลานิล เพื่อมาเลี้ยงในกะชัง 7.จัดกิจกรรมปลูกผักอินทรีย์ไร้สารพิษในแปลงสาธิตที่ศูนย์เรียนรู้ของหมู่บ้าน และครัวเรือนจนครบ โดยการลงแขกผลัดเปลี่ยนกันเป็นการรื้อฟื้นประเพณี
  5. ครัวเรือน ที่สมัครใจปลูกผักสวนครัว นำผักมารับประทานในครอบครัวเพื่อลดรายจ่าย
  6. จัดเปิดศูนย์เรียนรู้ที่แปลงสาธิตโดยนำผักที่ปลูกได้มาวางจำหน่ายในหมู่บ้าน 10.จัดตั้งคณะทำงานที่ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในชุมชนเพื่อเป็นที่ฝึก และร่วมเรียนรู้ในกลุ่มการทำน้ำหมัก ปุ๋ยชีวภาพและการทำกระชังเลี้ยงปลา นวัตกรรม
  7. จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในศูนย์เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการประชุมสภาผู้นำในหมู่บ้านและแกนนำโครงการต่อเนื่อง
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2556 20:05 น.