แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-01506
สัญญาเลขที่ 56-00-1427

ชื่อโครงการ สร้างคน สร้างชุมชนทองพูนตามรอยพ่อ
รหัสโครงการ 56-01506 สัญญาเลขที่ 56-00-1427
ระยะเวลาตามสัญญา 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายมนูญ พลายชุม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 30 มกราคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มกราคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางพิไลวรรณ พรายชุม 83 หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0810849766
2 นางสาวจารีย์ สมบูรณ์ 43 หมู่ที่ 2 ตำบล เขาพระบาท อำเภอ เชียรใหญ่ จังหวัด นครศรีธรรมราช 0873801214
3 นางวันทนา เส้งทั่น 23 หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
4 นางสาวสาคร ปานหนู 90/1 หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
5 พระเกียรติศักดิ์ สายพือ รองเจ้าอาวาสวัดทองพูน หมุ่ที่ 2 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 0810915543
6 นางสมศรี ด้วงทอง 181 หมู่ที่ 2 ตำบล เขาพระบาท อำเภอ เชียรใหญ่ จังหวัด นครศรีธรรมราช
7 นางอรัญญา ชูแก้ว 151 หมู่ที่ 2 ตำบล เขาพระบาท อำเภอ เชียรใหญ่ จังหวัด นครศรีธรรมราช
8 นางสมจิตร อินทะศรี 15 หมู่ที่ 2 ตำบล เขาพระบาท อำเภอ เชียรใหญ่ จังหวัด นครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาบ้านทองพูนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสร้างกระบวนการมีสวนร่วม ลดปริมาณการใช้สารเคมีในภาคเกษตรของชุมชน

1.มีฐานเรียนรู้เกี่ยวเศรษฐกิจพอเพียง 3 ฐาน ได้แก่ ฐานทำปุ๋ยหมัก  ฐานน้ำหมักชีวภาพ  ฐานเกษตรวิถี
2. ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนา จาก 10 ครัวเรือนเพิ่มเป็น 40 ครัวเรือนภายใน  1 ปี

2.

2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม

1.กลุ่มเป้าหมายปลูกผักกินเองและบริโภคผักทุกวัน อย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัม ร้อยละ 80
2.กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆ วันละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ เพิ่มเป็น เป็นร้อยละ 90 3.มีแนวทางลดอ้วนที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน 1 ชุด

3.

เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการ โดยทีม สสส.และสจรส.

  1. คณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุมที่สสส./สจรส.ม.อ.จัดขึ้น
  2. มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์จัดส่งสสส.
  3. มีการถ่ายภาพทุกกิจกรรมตลอดระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ และติดตั้งป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ในสถานที่จัดกิจกรรม
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาโครงการ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.ได้ประชุมคณะทำงาน 30 คน เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนางาน และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงาน 2.ร่วมกันออกแบบวิธีการทำงานและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.ได้บอกถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ และตัวชี้วัด เมื่อจบโครงการต้องตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเินินงานครั้งนี้ เกิดเปลี่ยนแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน : คณะกรรมการบางคนที่ไม่เข้าใจก่อนเริ่มโครงการ เมื่อได้ฟังก็เริ่มเรียนรู้ เริ่มเข้าใจ  ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นการเปลี่ยนวิธีคิดของคน เปลี่ยนทัศนคติ

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาโครงการ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.คณะืำทำงานได้ร่วมกันออกแบบการทำงาน  ดึงภาคีเข้าร่วมทำงาน  ได้แก่ โรงเีรียนวัดทองพูน พระวัดทองพุน ซึ่งทังหมดก็เต็มใจและเห็นด้วยกับกิจกรรมดังกล่าว
2.ครูภูมิปัญญา ไ้ด้เข้าร่วมประชุมและเสนอแนวทางการพัฒนาร่วมด้วย

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินการครั้งนี้  เกิดการเปลี่่ยนแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน : คณะทำงานเปลี่ยนความคิด เปลี่ยนทัศนคติและเปลี่ยนวิธีการมองปัญหา จากเดิมมองว่าเป็นปัญหา แต่ตอนนี้มองว่าทุกอย่างแก้ไขได้ แต่ต้องใช้เวลา

2.การเปลี่ยนแปลงกลไก  : เกิดกระบวนการประสานงานขึ้น มีการนำภาคีมาร่วมงาน โดยเฉพาะวัด และใช้กลไกวัดเป็นตัวขับเคลื่อนกิจกรรม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการ ได้เรียนรู้วิธีการบันทึกเอกสาร และการออนไลน์โปรแกรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.คณะกรรมการไ้ด้เรียนรู้วิธีการทำงานอย่างเป็นระบบมากขึ้น  ซึ่งทุกคนที่ทำกิจกรรมให้บันทึกในเอกสารทุกครั้ง เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
2.คณะกรรมการได้เรียนรู้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล  วิธีการตรวจสอบข้อมุลให้ถูกต้อง และการทำำเอกสารรายงานการเงิน
3.ทีมงานได้เรียนรู้วิธีการบันทึกออนไลน์ในโปรแกรม และการออกรายงาน ซึ่งเป็นสื่อสาธารณะที่ผู้คนเข้าไปเรียนรู้ได้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเินินการครั้งนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ

1.การเปลี่ยนแปลงคน : คณะกรรมการเห็นว่าโครงการนี้โปร่งใส ตรวจสอบได้  เงินที่ได้มาก็เป็นกองกลาง ทุกคนได้รับรู้  คนทำงานต้องมีจิตอาสาและเสียสละ

2.การเปลี่ยนแปลงสังคม : คณะกรรมการบอกว่ากิจกรรมนี้ มีพระเป็นที่ปรึกษา อย่างน้อยคนทำงานต้องมีคุณธรรมจริยธรรม  เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมทำแต่สิ่งที่ดี ส่งผลให้สังคมน่าอยู่
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก : กรรมการได้เรียนรู้กระบวนการเก็บเอกสาร การบันทึกข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.คณะทำงานได้มีการพูดคุย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำฐานเรียนรู้ โดยอาศัยครูภูมิปัญญาและปราชญ์ชุมชน
2.มีการระดมทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ เช่น สมุนไพร หรือภูมิปัญญาสมัยบรรพบุรุษ 3.สมาชิกมีการพูดคุยและเสนอความคิดเห็น ทุกคนเสมอภาค และให้การยอมรับกันและกัน 4.มีภาคีเข้ามาร่วมงานเพิ่มขึ่้น คือ กลุ่มกู้ชีพฉุกเฉิน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.คณะทำงานเมื่อมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำให้ได้แนวคิดในการพัฒนาฐานเรียนรู้ ได้แก่ (1)ขยะในครัวเรือนนำมาทำเป็นน้ำหมักและปุ๋ยหมัก (2)สมุนไพรในชุมชน เช่น ขมิ้น มะกรูด ขี้เถ้า เหล่านี้นำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือนไ้ด้ (3)การทำบัญชีครัวเรือนให้ทุกคนไ้ด้เขียน เขียนตามความเป็นจริง ได้แค่ไหนเอาแค่นั้น เพือฝึกวินัยในกลุ่มคน (4)ใช้วัดเป็นศูนย์กลางการดำเนินกิจกรรม เพราะคนไทยผูกพันธ์กับวัด 2.คนเริ่มเห็นคุณค่ากันเองมากขึ้น เพราะยอมรับในความสามารถ ลดความขัดแย้ง เกิดความเอื้อเฟื้อระหว่างกัน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินการครั้งนี้  เกิดการเปลี่่ยนแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน : คณะทำงานมีความกล้าที่จะแสดงออก เสนอความคิดเห็น จากเดิมไม่ค่อยคุย ไม่พูด แต่ตอนนี้ทุกคนเริ่มให้ความสำคัญ  เริ่มแสดงความเป็นเจ้าของกิจกรรมในชุมชนตนเอง 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม : สังคมเริ่มมีการเรียนรู้ มีการใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ เริ่มรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น

3.การเปลี่ยนแปลงกลไก  : เริ่มมีภาคีเครือข่ายมาร่วมทำงานมากขึ้น เพราะเห็นชัดในกระบวนการพัฒนา

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

กิจกรรมครั้งนี้เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคณะทำงาน และปราชญ์ชุมชน เพื่อเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการสร้างวิทยากรแกนนำ ครังที่ 1

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.แกนนำ ครู ก ได้สอน ครู ข เพื่อเรียนรุ้การทำผลิตภัณฑ์ไว้ใช้ในครัวเรือน ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้ 3 ฐาน คือ (1)น้ำยาเอนกประสงค์ ที่ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี  (2)ยาสระผม ที่ำทำจากมะกรุูด (3)สบู่สมุนไพร ที่ำทำจากขมิ้น
2.แกนนำครู ข ไ้ด้ฝึกสาธิต ปฏิบัติ และนำไปทำใช้ต่อที่ครัวเรือนของตนเอง  เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ในการสอนเพื่อนบ้านต่อไป

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/ ได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนาชุนชน โดยใช้ฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญา และใช้ทรัพยากรชุมชน  เกิดวิธีคิดแบบใหม่ ที่ลดการพึ่งพิงคนอื่น แต่พึงตนเองมากขึ้น 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  สร้างกระบวนการลดการใช้สารเคมี  มีแนวทางที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดการซื้อเป็นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ 3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ เกิดกระบวนการเีรียนการสอนในชุมชนเอง โดยถ่ายทอดผ่านครูภูมิปัญญา เป็นห้องเรียนชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

กิจกรรมครั้งนี้เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคณะทำงาน และปราชญ์ชุมชน เพื่อเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการสร้างวิทยากรแกนนำ ครั้งที่ 2

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.แกนนำ ครู ก ได้สอน ครู ข เพื่อเรียนรุ้การปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้ 3 ฐาน คือ (1) น้ำหมักชีวภาพ โดยนำสิ่งที่เหลือใ้ช้ในครัวเรือนมาหมัก  (2)ปุ็ยหมักชีวภาพ เป็นการนำขยะจากครัวเพื่อทำเป็นปุ๋ย (3)สมุนไพรไล่แมล เป็นการเรียนรู้สรรพคุณสมุนไพรในชุมชน มาใช้ไล่แมลงลดการใช้สารเคมี
2.แกนนำครู ข ไ้ด้ฝึกสาธิต ปฏิบัติ และนำไปทำใช้ต่อที่ครัวเรือนของตนเอง  เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ในการสอนเพื่อนบ้านต่อไป

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/ ได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนาชุนชน โดยใช้ฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญา และใช้ทรัพยากรชุมชน  เกิดวิธีคิดแบบใหม่ ที่ลดการพึ่งพิงคนอื่น แต่พึงตนเองมากขึ้น 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  สร้างกระบวนการลดการใช้สารเคมี  มีแนวทางที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะในครัวเรือน  ลดแหล่งเพาะพันธู์เชื้อโรค และนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ 3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ เกิดกระบวนการเีรียนการสอนในชุมชนเอง โดยถ่ายทอดผ่านครูภูมิปัญญา เป็นห้องเรียนชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

กิจกรรมครั้งนี้เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคณะทำงาน และปราชญ์ชุมชน เพื่อเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการสร้างวิทยากรแกนนำ ครั้งที่ 3

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.แกนนำ ครู ก ได้สอน ครู ข เพื่อเรียนรุ้การทำผลิตภัณฑ์ไว้ใช้ในครัวเรือน ซึ่งเป็นฐานเรียนรู้ 3 ฐาน คือ (1) ยาสีฟันสมุนไพร ที่ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี  (2)การปลูกผักปลอดสารพิษ ไว้กินเอง ไม่มีสารเคมี (3)การทำบํญชีครัวเรือน เพื่อสร้างความตระหนักในการออม
2.แกนนำครู ข ไ้ด้ฝึกสาธิต ปฏิบัติ และนำไปทำใช้ต่อที่ครัวเรือนของตนเอง  เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ในการสอนเพื่อนบ้านต่อไป

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/ ได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนาชุนชน โดยใช้ฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญา และใช้ทรัพยากรชุมชน  เกิดวิธีคิดแบบใหม่ ที่ลดการพึ่งพิงคนอื่น แต่พึงตนเองมากขึ้น 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  สร้างกระบวนการลดการใช้สารเคมี  โดยปลูกผักกินเอง ใช้น้ำหมักและปุ๋ยชีวภาพที่ผลิตเองมาปลูกผัก เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  มีการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อสร้างการออม ลดปัญหาหนี้สิน เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ เกิดกระบวนการเีรียนการสอนในชุมชนเอง โดยถ่ายทอดผ่านครูภูมิปัญญา เป็นห้องเรียนชุมชน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการได้รวบรวมองค์ความรู้และภูมิปัญญาที่ได้จากฐานเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.คณะกรรมการไ้ด้เรียนรู้องค์ความรู้ภูมิปัญญาในการลดสารเคมี วิธีเพิ่มรายได้ครัวเรือน
2.คณะกรรมการได้รวบรวมองค์ความรู้ที่จะเผยแพร่ให้กับชุมชน
3.มีฐานเรียนรู้ในครัวเรือนของ ครู ก  และ ครู ข โดยทำให้เห็นเป็นตัวอย่าง และพร้อมที่จะสอนได้ตลอดเวลา

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/  คณะกรรมได้ทดลองและปฏิบัติจริง เห็นผลจริง และพร้อมที่จะนำความรู้ไปถ่ายทอด ทำให้เกิดครูชุมชน  ได้เกิดกระบวนการพัฒนาที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน โดยใช้ทรัพยากรชุมชน ได้แก่องค์ความรู้ภูมิปัญญา สมุนไพร
2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/ มีกระบวนการพัฒนาสังคมให้น่าอยู่  สังคมลดสารเคมี  เห็นกระบวนการลดหนี้สิ้น
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ เกิดกระบวนเรียนรู้กันเอง เกิดครูชุมชน และกลไกการขับเคลื่อนโดยใช้ภาคีช่วย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

แกนนำชุมชน ซึ่งเป็นครู ก และครู มีแนวทางการเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน ซึ่งเป็นความรู้ภูมิปัญญา เป็นการอนุรักษ์ของดีในชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.แกนนำได้สรุปความรู้ที่จะถ่ายทอดสู่ชุมชน ทั้งหมด 9 ฐานเรียนรู้ ที่ทุกคนปฏิบัติได้
2.แกนนำทุกคนพร้อมที่จะเป็นครู และพร้อมที่จะสอน มีความเสียสละ 3.เกิดบทเรียนชุมชนขึ้น คือ บทเรียนภูมิปัญญา พัฒนาชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ
1.การเปลี่ยนแปลงคน/  แกนนำเมื่อทดลองจริง ทำจริง เกิดความรู้จริง พร้อมที่จะถ่ายทอดได้ เป็นความรู้ของชุมชน เกิดความรักและหวงแหนชุมชน 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพื่อเป็นห้องเรียนชุมชน
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ ใช้ห้องเรียนชุมชน เป็นกลไกในการขับเคลื่อน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชาชนได้เรียนรู้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยผ่านการเรียนรู้จากฐานเรียนรู้ชุมชน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.ประชาชนได้แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ฐานเรียนรู้ชุมชนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ทำให้ประชาชนมองเห็นแนวทางการพัฒนาตนเองง่ายขึ้น  ได้แก่ (1)น้ำหมักชีวภาพเป็นปุ๋ยสำหร้ับต้นไม้อย่างดี สามารถผลิตได้เอง ลดรายจ่าย ลดสารเคมี  (2)ขยะในคร้วเรือน ทำเป็นปุ๋ยชีวภาพ เป็นการลดขยะครัวเรือน ลดแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค ลดรายจ่าย  (3)สมุนไพรในชุมชนมาแปรรูปเป็นสบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน ลดสารเคมีที่จะเข้าสู่ร่างกาย (4)การทำบัญชีครัวเรือนเป็นอีกแนวทางที่ช่วยปลดหนี้ ลดรายจ่าย
2.ประชาชนบางส่วนสมัครใจเข้าร่วมโครงการ เพราะเข้าใจกระบวนการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/ ประชาชนได้เปลี่ยนกระบวนการคิด มองเห็นแนวทางที่ปฏิบัติได้ ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชุมชน เมื่อเปลี่ยนวิธีคิด มุมมองก็เปลี่ยนไป เข้าใจกระบวนการพัฒนาชุมชน เข้าใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  เืมื่อมีคนเข้าใจกระบวนการพัฒนา แนวคิดเปลี่ยน การกระทำเปลี่ยน ส่งผลให้คนคิดดี ทำดี สังคมน่าอยู่ มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และชุมชนพร้อมที่จะเป็นห้องเรียนไ้ด้ตลอดเวลา
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/ ใช้ ครูแกนนำ  ใช้ภูมิปัญญาและห้องเรียนชุมชน  เป็นกลไกในการขับเคลื่อน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1.กิจกรรมรครั้งนี้ประสานกับโรงเรียน  ครูเข้าใจกระบวนการพัฒนา และวางแนวทางร่วมกัน 2.ถ่ายทอดความรู้และกิจกรรมผ่านไปยังนักเรียน และสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

1.นักเรียนได้เรียนรู้่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยผ่านทางครูภูมิปัญญา เป็นองค์ความรุ้ชุมชน
2.กิจกรรมสอดคล้องกับชีวิตประจำวัน ทำไ้้ด้ง่าย และนักเรียนสนใจ สมัครเข้าร่วม 3.มีการวางแนวทางร่วมกันระหว่างโรงเรียน กับนักเรียน โดยทำจุดสาธิตที่โรงเรียน และที่บ้านให้นักเรียนไปเรียนรู้ที่ศูนย์เรียนรู้ใกล้บ้าน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานครั้งนี้ เกิดการเปลี่นแปลงคือ 1.การเปลี่ยนแปลงคน/  นักเรียนหลายคนเปลี่ยนวิธีคิด จากเดิมดูแต่โทรทัศน์ วันนี้มีกิจกรรมที่สนุกกว่า เพราะได้เล่น ได้ออกแรง  นักเรียนได้เข้าใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน
2.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม/  โรงเรียนจะเป็นจุดสาธิต เพื่อให้นักเรียนไ้ด้ช่วยกันปฏิับัติ
3.การเปลี่ยนแปลงกลไก/  มีภาคีเพิ่มขึ้น คือโรงเรียน และนักเรียน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
สบู่ขมิ้น แชมพูมะกรูด

1.ครูภูมิปัญญาไ้ด้สอนให้ทำสบู่ขมิ้นไว้ใช้เองในครัวเรือน เป็นการนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดการนำสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย และขมิ้นบำรุงผิว 2.แชมพูมะกรูด เป็นการนำมะกรูดที่มีอยุ่ในครัวเรือน มาทำเป็นแชมพู ลดการใช้สารเคมี ทำให้ผมนุ่ม ดกดำ

1.ลดรายจ่ายในการซื้อสบู่ และยาสระผม 2.ลดการใช้สารเคมี 3.อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
1.แหล่งเรียนรู้ในครอบครัว

1.ครู ก และ ครู ได้ร่วมกันรวบรวมองค์ความรู้ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนนรู้ระหว่างกัน นำความรุ้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาบ้านตนเอง 2.องค์ความรู้ที่นำไปพัฒนาในบ้านตนเอง ได้แก่ (1)การทำน้ำหมักชีวภาพ (2)ขยะที่เหลือทำเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพ (3)น้ำยาเอนกประสงค์ (4)สบู่สมุนไพรขมิ้น  (5)ยาสระผมสมุนไพร มะกรูด (6)การทำบัญชีครัวเรือนลดหนี้ ลดรายจ่าย (7)การทำน้ำส้มควันไม้ ไล่แมลง (8)การใช้ภูมิปัญญาดูแลสุขภาพตนเอง (9)การใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพตนเอง

1.ชุมชนได้เรียนรู้ภูมิปัญญาและเห็นคุณค่าของปราชญ์ขุมชน 2.ชุมชนได้ใช้สมุนไพรในการทำผลิตภัณฑ์และลดการนำสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 3.ลดขยะในครัวเรือนโดยทำเป็นปุ๋ยชีวภาพ 4.มีแหล่งเรียนรู้ทีทุกคนเรียนรู้ไ้ต้ตลอดเวลา

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายทำนอง สมัย 34 หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

1.เป็นครูภูมิปัญญาและเป็นปราชญ์ชุมชน ได้เรียนรู้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และนำมาใช้ในบ้านของตนเอง เป็นเวลา 15 ปี มีความรุ้เป็นอย่างดี ได้แก่ การทำสบู่ ยาสระผม น้ำยาซักผ้า  น้ำส้มควันไม้ ฯลฯ 2.เป็นบุคคลที่มีความรู้ และมีจิตอาสาที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในหมู่บ้าน

พระเกียรติศักดิ์ สายพือ รองเจ้าอาวาสวัดทองพูน ม.2 ต.เขาพระบาท อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีฯ

1.ท่านมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพ
2.ท่านเป็นพระนักพัฒนาและนักปฏิบัติ คอยชี้แนะประชาชนให้ดำรงชีวิตทีถูกต้อง ถูกทาง 3.ท่านอนุญาตให้พื้นที่วัดเป็นศูนย์เรียนรู้ทุกด้าน

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

วัดทองพูน ม.2 ต.เขาพระบาท อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรี

เดิมเป็นพื้นที่ รกและว่างเปล่า รองเจ้าอาวาสไ้ด้ร่วมพัฒนา ทุกวันนี้ได้เปลี่ยนเป็นศูนย์เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้เข้าไปเรียนรู้และร่วมทำกิจกรรมเป็นประจำทุกเดือน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

ชุมชนมีการประชุม และจัดตังคณะทำงาน รวมทังมีภาคร่วมทำงาน แนวโน้มการดำเนินงานตามโครงการสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

จากการถอดบทเรียน พบว่า การขับเคลื่อนกิจกรรมสำเร็จไปได้เพราะ 1.มีการรวมตัวกันของประชาชน และกลุ่มผู้นำ พระ ทุกคนให้ความสำคัญต่อการพัฒนา 2.ไม่มีการผลักภาระ หรือธุระไม่ใช่ แต่ทุกคนร่วมใจกันทำงาน
3.ทุกคนที่ร่วมทำงาน มีเป้าหมายในการพัฒนาที่เหมือนกัน คือ ต้องการให้ชุมชนน่าอยู่ มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
4.ใช้กลไกวัด เป็นตัวหมุนกิจกรรม และแรงหนุนเสริม
5.มีพี่เลี้ยงคอยติดตามทุกระยะ เลยทำให้กิจกรรมเคลื่อนไปด้วยดี

สร้างรายงานโดย manoon