แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03826
สัญญาเลขที่ 58-00-2118

ชื่อโครงการ สองข้างทางสร้างรายได้ บ้านตีนคลอง
รหัสโครงการ 58-03826 สัญญาเลขที่ 58-00-2118
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 น.ส.รัชฎาภรณ์ จันทสุวรรณ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางกำไล สมรักษ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 มกราคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสมชาย ศรีใหม่ หมู่ที่ 6 ต.อินคีรี อ.พรหมคีรี 0630612865
2 นายจักรกฤษณ์ อินทศร หมู่ที่ 6 ต.อินคีรี อ.พรหมคีรี 0818959240

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ครัวเรือนมีความรู้ สามารถปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักของครอบครัว

  1. ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 60 ครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายในการซื้อพืชผักลดลงอย่างน้อยร้อยละ 50
  2. ครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน
  3. ครัวเรือนอย่างน้อย 40 ครัวเรือนมีต้นทุนทางการเกษตร เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ลดลง
  4. ครัวเรือนอย่างน้อย 60 ครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 10ชนิด
  5. มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษ โทษของการใช้สารเคมีในการเกษตร รณรงค์การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ

2.

สองข้างทางของถนนในชุมชนมีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ

  1. พื้นที่สองข้างทางของถนนอย่างน้อย 3,600ตร.ม. มีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
  2. พื้นที่สองข้างทางมีการปลูกพืชผักอย่างน้อย 20 ชนิด

3.

 

 

4.

คนในชุมชนมีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัยลดลง

  1. คนในชุมชนร้อยละ 60 มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัยลดลง
  2. คนในชุมชนอย่างน้อย 100 คนได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด
  3. คนในชุมชนอย่างน้อย 100 คนได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษของการใช้สารเคมีในการเพาะปลูกทั้งต่อสิ่งแวดล้อม และต่อสุขภาพ

5.

 

 

6.

เกิดสภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนการทำเกษตรปลอดสารพิษในชุมชน

  1. มีกลุ่มทำเกษตรปลอดสารพิษ (บ้านและสองข้างทางของถนน)ในชุมชน 1 กลุ่ม
  2. ครัวเรือนร้อยละ 60 มีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน
  3. เกิดสภาผู้นำชุมชน (ทางการและไม่เป็นทางการ) ในการขับเคลื่อนการทำเกษตรปลอดสารพิษ และพูดคุยเรื่องอื่นๆ ในชุมชน และร่วมบริหารจัดการการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  4. สภาผู้นำมีการประชุมทุกเดือน
  5. สมาชิกในสภาผู้นำอย่างน้อยร้อยละ 80 เข้าร่วมประชุมสภาผู้นำทุกเดือน
  6. เกิดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษระหว่างกลุ่มต่างๆ ในชุมชนอย่างน้อย 1 ครั้ง
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมชี้แจงโครงการ กิจกรรมโครงการ และที่มาของโครงการi

10,100.00 120 ผลผลิต

ชุมชนได้จัดทำป้ายลด ละ เลิก บุหรี่ และป้ายประชาสัมพันธ์โครงการไว้ที่ศาลาประจำหมู่บ้าน จำนวน 1 ป้าย และในวันประชาสัมพันธ์โครงการ มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 90 คน (เด็กวัยเรียน 16 คน, วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ จำนวน 74 คน)


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนที่เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจในกิจกรรมที่ทำ มีการนำเสนอรูปแบบการทำกิจกรรม และผู้รับผิดชอบกิจกรรมในแต่ละกลุ่มบ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

ผู้เข้าร่วมประชุมชี้แจงโครงการทั้งหมด 90 คน เป็นเด็กวัยเรียน 16 คน วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุจำนวน 74 คน ในจำนวนนี้เป็นแกนนำชุมชนจำนวน 15 คน

10,100.00 10,800.00 120 90 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์: คนในชุมชน 90 คนเข้าร่วมประชุมการชี้แจงโครงการ กิจกรรมของโครงการ ที่มาของงบประมาณ, เกิดสภาผู้นำชุมชน 1 กลุ่ม ผลผลิต: มีผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมของโครงการ ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ชาวบ้านต้องการความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย โดยเฉพาะการล้างผักและผลไม้ก่อนบริโภค ชาวบ้านต้องการความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย โดยเฉพาะการล้างผักและผลไม้ก่อนบริโภค จึงจัดให้ความรู้อีกครั้งในวันที่สาธิตการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาไล่แมลง ในวันที่ 8 มกราคม 2559

เด็กวัยเรียน 16 คน วัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุจำนวน 74 คน ในจำนวนนี้เป็นแกนนำชุมชนจำนวน 15 คน

0.00 0.00 120 90 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คนในชุมชนมารับฟังการชี้แจงโครงการ กิจกรรมโครงการ และที่มาของงบประมาณ จำนวน 90 คน
  2. เกิดสภาผู้นำขับเคลื่อนโครงการจำนวน 1 กลุ่ม โดยมาจากทุกกลุ่มบ้าน
  3. มีการวางแผนการทำกิจกรรม และกำหนดวันทำกิจกรรมครั้งถัดไป โดยในวันที่ 8 ม.ค. 59 เป็นกิจกรรมเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษ การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาไล่แมลง และรวมกลุ่มสองข้างทางสร้างรายได้บ้านตีนคลอง

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 4 คน พี่เลี้ยงโครงการ 1 คน

0.00 0.00 5 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงร่วมกันตรวจความถูกต้อง ครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตรวจสอบกิจกรรม ตรวจสอบเอกสารการเงิน และวางแผนการทำกิจกรรมในงวดต่อไป ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจวิธีการดำเนินโครงการมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 4 คน พี่เลี้ยง 1 คน

0.00 0.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ทำรายงานปิดงวด 1
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการทราบปัญหา/อุปสรรค เข้าใจวิธีการเขียนรายงานมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 3 คน และพี่เลี้ยงร่วมกันตรวจสอบกิจกรรมที่ได้ทำ เอกสารการเงิน การบันทึก ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจการทำกิจกรรมมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : สำรวจชนิดและปริมาณการใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี และต้นทุนการเพาะปลูกอื่นๆ รายรับจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมi

11,050.00 106 ผลผลิต

ครัวเรือนในชุมชน จำนวน 93 ครัวเรือน ได้รับการสำรวจชนิดเและปริมาณการใช้สารเคมี ต้นทุนการใช้สารเคมีในครัวเรือน ผลพบว่า ครัวเรือนร้อยละ 30 ใช้สารเคมีในการเพาะปลูก โดยครัวเรือนที่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูกมีต้นทุนการใช้สารเคมีประมาณ 4,000 บาท/ครัวเรือน/ปี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ครัวเรือนรับรู้ถึงปริมาณ และต้นทุนการใช้สารเคมีในครัวเรือนและชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ครัวเรือนในชุมชนจำนวน 93 หลังคาเรือน

5,000.00 5,500.00 106 93 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อสม.จำนวน 10 คน และกรรมการ จำนวน 1 คน ได้ร่วมกันสำรวจชนิดเและปริมาณการใช้สารเคมี ต้นทุนการใช้สารเคมีในครัวเรือน จำนวน 93 หลังคาเรือน ผลพบว่า ครัวเรือนร้อยละ 30 ใช้สารเคมีในการเพาะปลูก โดยครัวเรือนที่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูกมีต้นทุนการใช้สารเคมีประมาณ 4,000 บาท/ครัวเรือน/ปี แต่ทุกครัวเรือนซื้อผักและผลไม้จากตลาดมารับประทาน ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ปุ๋ยเคมี จำนวนมาก

ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 100 ครัวเรือน

6,050.00 5,000.00 106 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ครัวเรือนร้อยละ 70 ใช้สารเคมีลดลง โดยลดการใช้สารเคมีกำจัดแมลง และสารเคมีกำจัดวัชพืชลง ผลลัพธ์: คนในชุมชนกลัวที่จะมีสารเคมีตกค้างในเลือด กลัวเป็นโรคที่เกิดจากผลของสารเคมี

กิจกรรมหลัก : ตรวจสารเคมีในเลือด และให้ความรู้เรื่องพิษภัยของการใช้สารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกายi

34,240.00 100 ผลผลิต

คนในชุมชนได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดในวันจัดกิจกรรมจำนวน 87 ราย และไปตรวจเพิ่มเติมที่รพ.สต.13 ราย (แต่เบิกค่าอาหาร 87 ราย) โดยคนในชุมชนบางรายมาแล้วรีบกลับ เนื่องจากต้องไปทำงานต่อ ผลพบว่ามีสารเคมีในเลือดในระดับที่ไม่ปลอดภัย 18 คน เสี่ยง 40 คน ปลอดภัย 24 คน ปกติ 5 คน รวม 87 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย เริ่มตระหนักว่าตนมีสารเคมีตกค้างในเลือด และสอบถามถึงแนวทางการลดสารเคมีในเลือด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ประชากรวัยผู้ใหญ่ 49 ราย และผู้สูงอายุ 38 ราย

11,050.00 10,440.00 100 87 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนเข้าร่วมตรวจสารเคมีในเลือดในวันจัดกิจกรรม 87 ราย โดยเป็นประชากรวัยผู้ใหญ่ 49 ราย และผู้สูงอายุ 38 ราย ผลพบว่ามีสารเคมีในเลือดในระดับที่ไม่ปลอดภัย 18 คน เสี่ยง 40 คน ปลอดภัย 24 คน ปกติ 5 คน รวม 87 คน และมีผู้ไปตรวจสารเคมีเพิ่มเติมที่รพ.สต.จำนวน 13 ราย (ผู้ใหญ่ 10 ราย ผู้สูงอายุ 3 ราย) โดยเมื่อคิดจากผลการตรวจทั้ง 100 ราย พบผู้ที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงร้อยละ 50 และไม่ปลอดภัยร้อยละ 19 โดยคนในชุมชนบางรายมาแล้วรีบกลับ เนื่องจากต้องไปทำงานต่อ

วัยทำงาน 60 คน วัยสูงอายุ 40 คน

23,190.00 22,040.00 106 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ชาวบ้านจำนวน 100 คน ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด พบผู้ที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 37 คน (37%) ซึ่งลดลงกว่าเท่าตัว
ผลลัพธ์: ชาวบ้านในชุมชนทราบถึงระดับสารเคมีในเลือดของตนเอง และทราบผลของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดสารเคมีในเลือด

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษ การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาไล่แมลง และรวมกลุ่มสองข้างทางสร้างรายได้ในชุมชนi

32,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วม 81 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เรียนรู้การล้างผักแบบปลอดภัย ได้นำไปปฏิบัติที่บ้าน ใช้น้ำส้มสายชู ใช้ผงฟู และโปสเตอร์ขั้นตอนการล้างผักให้ทุกบ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

วัยเรียน 4 คน วัยทำงาน 50 วัยสูงอายุ 27 คน

32,000.00 20,530.00 100 81 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์: ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาไล่แมลง ได้ทำโปสเตอร์ "ล้างผักถูกวิธี ชีวีปลอดภัย" และให้ไปปิดที่บ้านทุกหลัง ผลผลิต: ชาวบ้านให้ความสนใจเรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษและการล้างผักปลอดสารพิษ ชาวบ้านสาธิตการล้างผักปลอดสารพิษตามโปสเตอร์ "ล้างผักถูกวิธี ชีวีปลอดภัย"

เด็กวัยเรียน 10คน วัยผู้ใหญ่ 44 คนวัยผู้สูงอายุ 35 คน

0.00 15,978.00 100 89 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ได้น้ำหมัก ปุ๋ยหมัก น้ำยาไล่แมลง เพื่อใช้ในการดูแลพืชผักสองข้างทาง ผลลัพธ์: ชาวบ้านที่มาร่วมกิจกรรมช่วยกันทำน้ำหมัก ปุ๋ยหมัก น้ำยาไล่แมลง และชาวบ้านได้เรียนรู้เพื่อเอาไปทำที่บ้าน

กิจกรรมหลัก : ทำบัญชีครัวเรือนi

14,650.00 120 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วม 98 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนจากวิทยากร และได้รับการแจกสมุดบัญชีครัวเรือน ครัวเรือนละเล่ม ให้ไปบันทึก นัดติดตามผลอีกหนึ่งเดือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

หัวหน้าครอบครัว และหรือผู้อาศัยในครอบครัวนั้นๆ ซึ่งเป็น เด็กวัยเรียน จำนวน 10 คน ผู้ใหญ่วัยทำงาน จำนวน 50 คน ผู้สูงอายุ จำนวน 38 คน

14,650.00 14,410.00 100 98 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พัฒนาชุมชนอำเภอพรหมคีรีมาให้ความรู้คนในชุมชนเรื่องประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน วิธีการทำบัญชีครัวเรือน โดยผู้รับผิดชอบกิจกรรมแจกสมุดบัญชีครัวเรือนให้
  • ตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 98 คน
  • คนในชุมชนตระหนักถึงรายรับและรายจ่ายของครัวเรือนตนเอง และวางแผนการใช้จ่ายของครัวเรือนได้
  • การทำกิจกรรมดังกล่าวทำให้ครัวเรือนตระหนักถึงประโยชน์ของการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน และมีแนวทางในการทำบัญชีครัวเรือนของตนเอง

กิจกรรมหลัก : ประชาสัมพันธ์โครงการ รณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร และรณรงค์ปลูกพืชผักปลอดสารพิษi

2,500.00 330 ผลผลิต

จัดทำป้าย 5 ป้าย ติดตามจุดที่มีคนสัญจรไปมามาก


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ป้านรณรงค์ลดการใช้สารเคมี ปิดไว้ 5 จุดที่มีคนสัญจรไปมามาก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คนในหมู่บ้านจำนวน 330 คน

2,500.00 2,500.00 330 330 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์: มีป้ายประชาสัมพันธ์โครงการกลุ่มบ้านละ 1 ป้าย จำนวน 5 ป้าย ผลผลิต: คนในชุมชนได้รับรู้โครงการ และสนใจที่จะลดการใช้สารเคมี

กิจกรรมหลัก : เตรียมพื้นที่บริเวณสองข้างทางภายในถนนในหมู่บ้านเพื่อใช้ในการเพาะปลูกพืชผัก และลงแขกปลูกพืชผักi

18,000.00 75 ผลผลิต

ชาวบ้าน 15 คนร่วมกันถางสองข้างถนน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านได้ร่วมมือกันปรับพื้นที่สองข้างทางเพื่อปลูกผักปลอดสารพิษ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

วัยทำงาน 13 คน วัยสูงอายุ 2 คน

18,000.00 1,800.00 75 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์: ได้เตรียมพื้นที่บริเวณสองข้างทางของถนนประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่สองข้างทาง ผลผลิต: ชาวบ้านในชุมชนได้ร่วมมือกันเตรียมพื้นที่ในการปลูกพืชผัก ทำให้ชาวบ้านได้พูดคุยกันมากขึ้น ทั้งนี้ได้ทำกิจกรรมล่าช้า เนื่องจากฤดูฝนยาวนาน

วัยทำงาน 20 คน วัยสูงอายุ 15 คน

0.00 4,200.00 75 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: คนในชุมชนมาร่วมกันตัดหญ้า ถางสองข้างทางของถนน ทำให้บางของถนนบางส่วนโล่งเตียน แต่ยังต้องถางเพิ่ม ผลลัพธ์: คนในชุมชนได้มาพูดคุยกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน ทำให้มีความรักความสามัคคีกันมากขึ้น มีคนที่ผ่านไปผ่านมาแวะคุย ทำให้มีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นดีขึ้น

กลุ่มเด็กวัยเรียน 10 คน วัยทำงาน 31 คน วัยสูงอายุ 20 คน

0.00 7,320.00 75 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: มีคนทุกกลุ่มวัยเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 81 ซึ่งเกินเข้าหมายที่กำหนดไว้, พื้นที่รกร้างข้างทางโล่งเตียน ผลลัพธ์: คนในชุมชนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ทำให้มีสัมพันธภาพที่ดีมากขึ้น โดยมีแกนนำชุมชนคอยขับเคลื่อนประมาณ 15 คน และนัดวันทำกิจกรรมครั้งต่อไป

ตัวแทนกลุ่มบ้าน 5 กลุ่มบ้าน กลุ่มบ้านละ 3 คน เป็นคนวัยทำงาน 10 คน วัยสูงอายุ 5 คน

0.00 1,800.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: มีตัวแทนจากทุกกลุ่มบ้านกลุ่มบ้านละ 3 คน เข้าร่วมกิจกรรม รวม 15 คน เป็นวัยทำงาน 15 คน วัยสูงอายุ 5 คน

วัยทำงาจน 25 คน วัยสูงอายุ 10 คน

0.00 4,200.00 75 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: คนในชุมชนจำนวน 35 คน ร่วมมือร่วมใจกันถางป่า ถากหญ้า บริเวณสองข้างทางของถนนให้พร้อมที่จะปลูกพิชผัก ทำให้สองข้างทางของถนนโล่งเตียน
ผลลัพธ์: คนในชุมชนได้ร่วมมือกันทำกิจกรรม ได้พูดคุยหยอกล้อกัน มีความสุข ทำให้สัมพันธภาพในชุมชนเหนียวแน่นขึ้น

กิจกรรมหลัก : ประชุมแกนนำชุมชนเพื่อวางแผนการทำกิจกรรมในโครงการ รายงานความก้าวหน้าของโครงการ และทบทวนผลการดำเนินงานi

9,000.00 20 ผลผลิต

กรรมการโครงการ 7 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชุมเรื่องการจัดเตรียมกิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 8 ครั้ง

แกนนำชุมชน จำนวน 6 คน

500.00 150.00 20 6 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้นัดประชุมแกนนำเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมการทำบัญชีครัวเรือน ในการประชุมดังกล่าวมีแกนนำชุมชนเข้าร่วม 6 คน ประชุมการจัดกิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน และมอบหมายตัวแทน 1 คนเป็นผู้ประสานในการจัดกิจกรรม
  • แกนนำชุมชนทราบถึงประโยชน์และแนวทางการทำบัญชีครัวเรือน
  • ได้แนวทางในการจัดกิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน โดยให้พัฒนาชุมชนอำเภอพรหมคีรีเป็นผู้ให้ความรู้และชี้แนะชาวบ้านในเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

แกนนำชุมชน

1,000.00 1,200.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: แกนนำชุมชนและคนในชุมชนจำนวน 60 คน เข้าร่วมการประชุม ผลลัพธ์: 1. คนในชุมชนทราบถึงความก้าวหน้าของโครงการ 2. ได้วันในการทำกิจกรรเพาะพันธุ์พืชผัก 3. มีแผนการดำเนินกิจกรรมเพาะพันธุ์พืชผัก 4. มีผู้รับผิดชอบในการทำกิจกรรมที่มาจากทุกกลุ่มบ้าน

แกนนำชุมชน

1,000.00 1,200.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: แกนนำชุมชนและคนในชุมชนจำนวน 35 คน เข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์: 1. แกนนำและคนในชุมชนทราบความก้าวหน้าของโครงการ 2. นัดหมายวันทำกิจกรรมเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก 3. มีผู้รับผิดชอบในการทำกิจกรรม

แกนนำชุมชนและผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 20 คน ชาวบ้านที่สนใจทั่วไป 10 คน

1,500.00 1,500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. แกนนำชุมชนจำนวน 20 คน และชาวบ้านที่สนใจทั่วไปเข้าร่วม 10 คน เกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2. ผู้ร่วมประชุมแบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามกลุ่มบ้าน 3. นัดวันทำกิจกรรมในวันที่ 9 ก.ค. 59 ผลลัพธ์ 1. แกนนำชุมชนและชาวบ้านมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 2. แกนนำชุมชนและชาวบ้านทราบความก้าวหน้าของโครงการ

แกนนำชุมชน 20 คน 

1,000.00 1,200.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: แกนนำชุมชนเข้าร่วม 20 คน ชาวบ้านเข้าร่วม 15 คน ได้วางแผนกิจกรรมตรวจหาสารเคมีในเลือกที่จะจัดขึ้นในเดือนหน้า

แกนนำชุมชนและผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 20 คน

1,000.00 1,200.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: แกนนำชุมชนเข้าร่วมประุชุมจำนวน 20 คน คนในชุมชนเข้าร่วมประชุม 8 คน ผลลัพธ์: แกนนำทราบความก้าวหน้าของโครงการ ปัญหา/อุปสรรค และหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน

ผู้รับผิดชอบโครงการ 4 คน แกนนำชุมชน 5 คน และผู้สนใจทั่วไป 11 คน

1,500.00 1,400.00 21 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการ 4 คน แกนนำชุมชน 5 คน และผู้สนใจทั่วไป 11 คน เข้าร่วมกิจกรรม และมีการพูดคุยกันถึงปัญหา/อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไขปัญหา ผลลัพธ์: ผู้ร่วมประชุมทราบความก้าวหน้าโครงการ ปัญหา/อุปสรรค ร่วมหารือแนวทางแก้ไข และวางแผนการทำกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ 4 คน แกนนำชุมชน 4 คน คนในชุมชน 4 คน

1,500.00 1,500.00 21 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการ 4 คน แกนนำชุมชน 4 คน คนในชุมชน 4 คน ร่วมประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ วางแผนทำรายงาน ผลลัพธ์: ผู้ร่วมประชุมทราบความก้าวหน้าของโครงการ มีความภาคภูมิในกิจกรรมที่ทำ 

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

กรรมการ 2 คน เข้าร่วมประชุมกับ สสส


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้เรียนรู้เรื่องการจัดทำรายงานการเงิน การจัดทำรายงานในระบบอินเตอร์เน็ต และการบริหารจัดการโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 8 ครั้ง

  1. นายจักรกฤษณ์อินทศร 2. นายสมชาย ศรีใหม่
1,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. รับฟังการชี้แจงที่มางบประมาณโครงการ และชี้แจงจุดมุ่งหมายโครงการจาก ผศ.ดร.พงค์เทพ
  2. เข้าร่วมรับฟังจาก ทีม สจรส.และทีมพี่เลี้ยงชี้แจงการลงกิจกรรมย่อยในโครงการ ชี้แจงการทำปฏิทินโครงการ ชี้แจงการบันทึกกิจกรรม ชี้แจงการทำเอกสารการเงิน การบันทึกเอกสารต่างๆ รวมทั้งการบันทึกลง WEPSITE
  3. ลงกิจกรรมย่อยในโครงการ ทำปฏิทินโครงการ บันทึกกิจกรรม ทำเอกสารการเงิน การบันทึกลง WEPSITE
  4. วางแผน และกำหนดวัน เวลา ที่ทำกิจกรรมในโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน 

250.00 250.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจเรื่องการเขียนบิล การยื่นภาษี การหักภาษี ณ ที่จ่าย มากขึ้น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการมีความกระตือรีอร้นในการทำงานมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

3,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการขอขยายระยะเวลาการส่งผลงานโครงการเป็นระยะเวลา 1 เดือน เนื่องจากได้รับเงินล่าช้า และพื้นที่เกิดปัญหาน้ำท่วม ทำให้การดำเนินงานลำบาก
  • ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจวิธีการดำเนินงานมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

500.00 250.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงได้ลงกิจกรรมครบ และมีการตรวจสอบเอกสารการเงิน ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจการบันทึกและการเตรียมเอกสารมากขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: พี่เลี้ยงและผู้รับผิดชอบโครงการได้บันทึกกิจกรรมเพิ่มเติม ใส่ภาพประกอบกิจกรรม และวางแผนการทำกิจกรรมให้ครบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลการตรวจเอกสารทางการเงินพบว่ามีครบถ้วน

ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการมีความกระตือรือร้นในการเตรียมเอกสารและข้อมูลเพื่อบันทึกในเวปไซด์ มีการเตรียมเอกสารค่าใช้จ่ายในโครงการมาครบถ้วน แต่เอกสารบางใบเป็นใบเสร็จรับเงินที่ไม่สามารถใช้ได้

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

5,000.00 2,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการได้เรียนรู้กระบวนการทำงานของโครงการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ทั้งหมด ทำให้ได้เห็นโลกกว้างขึ้น
ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการบอกว่าได้เรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ ทำให้นำมาประยุกต์ใช้ในชุมชนได้

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 4 คน แกนนำชุมชนจำนวน 2 คน

0.00 0.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินกิจกรรมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ถึงแม้ว่าจะมีปัญหา/อุปสรรค ซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อมที่มีฝนตกชุก หรือในหมู่บ้านมีโครงการประปาหมู่บ้าน ซึ่งต้องเดินท่อประปาบริเวณข้างถนน ทำให้บางกิจกรรมมีความล่าช้า ซึ่งผลที่เกิดขึ้นมีดังนี้ 1) ด้านคน ภายหลังดำเนินโครงการพบว่า คนในชุมชนที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงแลไม่ปลอดภัยลดลงครึ่งหนึ่ง โดยพบคนในชุมชนเก็บพืชผักบริเวณสองข้างทางของถนนไปรับประทาน และมีคนที่มาร่วมกิจกรรมไปปลูกพืชผักปลอดสารพิษที่บ้าน ประมาณ 30 ครัวเรือน ทำให้รายจ่ายลดลง บางครัวเรือนหรือบางคน มีพืชผักเหลือไว้ขาย ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการปลูกพืชผักหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง และมีความรู้สึกภูมิใจ เนื่องจากพืชผักเจริญเติบโตดี ถึงแม้จะมีแมลงมากินบ้าง ก็สบายใจที่ได้กินพืชผักปลอดสารพิษ นอกจากนี้สัมพันธภาพของคนในชุมชนดีขึ้น เนื่องจากมีการทำกิจกรรมบ่อย ทำให้ได้พบปะกันมากขึ้น มีการพูดคุยกันมากขึ้น และคนในชุมชนได้ 2) ด้านสิ่งแวดล้อม การทำพื้นที่สองข้างทางของถนนให้เป็นประโยชน์ โดยการปลูกพืชผักปลอดสารพิษที่กินได้ ทำให้ดูสวยงาม เป็นเหมือนแปลงพืชผักสาธิต เพื่อให้คนในชุมชนและผู้ที่สัญจรไปมาได้เรียนรู้ คนในชุมชนพูดว่า ”เวลาเดินออกกำลังกายตอนเช้ารู้สึกเจริญหูเจริญตา”
3) ด้านกลไกการจัดการ การทำโครงการสองข้างทางสร้างรายได้บ้านตีนคลอง ทำให้เกิดกลุ่มผู้ปลูกและดูแลพืชผักที่ยังคงดูแลพืชผักประมาณ 20 คน โดยแต่ละคนมีพื้นที่รับผิดชอบที่ชัดเจน ซึ่งปลูกและดูแลตามความถนัดของแต่ละคน และมีการสร้างกติกากลุ่ม คือ ผู้ที่อยู่ในกลุ่มสามารถปลูกพืชผักไปรับประทานได้ฟรี ส่วนพืชผักที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเอง สามารถเก็บขายได้ แต่ต้องมาปลูกต่ออย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังเกิดนวัตกรรมการล้างพืชผักเพื่อกำจัดสารพิษโดยใช้ผงฟู และเกลือ แช่ก่อนล้าง ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชุมชนและการค้นคว้าหาข้อมูลทางวิชาการเพิ่มเติม

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 2 คน

250.00 712.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต: ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน และพี่เลี้ยง ได้ส่งรายงานทางการเงิน และปิดงวดกิจกรรม ผลลัพธ์: ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจการทำเอกสารมากขึ้น 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
วิธีล้างผักภูมิปัญญาชาวบ้าน

คิดสูตรล้างผักแบบภูมิปัญยาชาวบ้าน คือใช้น้ำส้มสายชู ผงฟู

นำไปถ่ายทอดให้หมู่บ้านอื่นได้ เพื่อลดสารเคมีตกค้างในพืชผัก ผลไม้

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

โครงการมีการดำเนินการตามแผนเป็นส่วนใหญ่ มีบางกิจกรรมได้ทำก่อน บางกิจกรรมทำหลัง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

จัดกิจกรรมลดสารเคมีโดยนำภูมิปัญญาเรื่องการใช้สารล้างพืชผักลดสารเคมี ได้แก่ ใช้น้ำส้มสายชู ใช้ผงฟู ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และลดสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย

สร้างรายงานโดย rachadaporn