directions_run

สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายฅนสร้างสุข


“ สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10) ”

จังหวัดภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ

ชื่อโครงการ สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10)

ที่อยู่ จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 60-02146 เลขที่ข้อตกลง 60-00-1865

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2017 ถึง 31 พฤษภาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10) จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายฅนสร้างสุข ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10)



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดภาคใต้ รหัสโครงการ 60-02146 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2017 - 31 พฤษภาคม 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,870,000.00 บาท จาก เครือข่ายฅนสร้างสุข เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1500 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน ในการจัดงาน “สร้างสุขคนใต้” ตลอด 12 ปีที่ผ่านมา ได้จัดไปแล้ว 9 ครั้ง เป็นการจัดงานที่ใช้ชื่องานสร้างสุข สลับกับ งานสมัชชาสุขภาพภาคใต้ ดังนี้
  1. งานสร้างสุข จัดที่จังหวัดสงขลา
  2. งานสร้างสุข จัดที่จังหวัดภูเก็ต
  3. งานสร้างสุข จัดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  4. งานสมัชชาสุขภาพภาคใต้ จัดที่จังหวัดสงขลา
  5. งานสมัชชาสุขภาพภาคใต้ จัดที่จังหวัดตรัง
  6. งานสมัชชาสุขภาพภาคใต้ จัดที่จังหวัดชุมพร
  7. งานสมัชชาสุขภาพภาคใต้ จัดที่จังหวัดสงขลา
  8. งานสร้างสุขชุมชนน่าอยู่ จัดที่จังหวัดสงขลา
  9. งานสร้างสุข จัดที่จังหวัดสงขลา
  • โดย 2 ครั้งล่าสุดจัดงานสร้างสุขคนใต้ ไปเมื่อวันที่4-6 กันยายน 2558 ภายใต้ชื่องาน เวที สานงาน เสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของฅนใต้ มีกลุ่มเป้าหมายจากภาคส่วนต่าง ๆ เข้าร่วมงานประมาณ 1,000 คน
  • และในปี พ.ศ.2559 สสส. สจรส.ม.อ. สช. และ สปสช. ประสงค์ที่จะขยายเครือข่ายการทำงาน และเพิ่มความร่วมมือกับหน่วยงานราชการ ในการผลักดัน ยกระดับผลการดำเนินงานปฏิบัติการด้านสุขภาวะในพื้นที่ไปสู่การพัฒนานโยบายสาธารณะมากขึ้น โดยใช้กลไกและเครื่องมือทางวิชาการเป็นฐานในการทำงานร่วมกัน จึงได้บูรณาการการจัดงานสร้างสุขคนใต้ ร่วมกับการประชุมวิชาการระดับชาติ ภายใต้หัวข้อเรื่อง “นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ” (Innovation of Health Promotion)กิจกรรมประกอบด้วยการบรรยายหัวข้อที่หลากหลาย โดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในระดับประเทศมาเป็นวิทยากรนอกจากนี้ภายในงาน ยังมีการจัดนิทรรศการ การประชุมห้องย่อยตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ มีการประชุมวิชาการ นำเสนอผลงานวิจัยของบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐ อาจารย์ นักวิจัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และบุคคลสนใจทั่วไปโดยมีผู้เข้าร่วม 1,800 คนจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เผยแพร่ผลงานวิจัย หรือผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนานโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่ และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนงานด้านสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
  • ในปี 2561 เครือข่ายสุขภาพภาคใต้ จะจัดให้มีงานสร้างสุข ครั้งที่ 10 ภายใต้ชื่องาน “สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข 61 สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน” โดยจะเป็นการจัดงานที่เป็นความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพของ สสส. สจรส.ม.อ. สช. สปสช. กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) และ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสานพลังภาคีเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ยกระดับการขับเคลื่อนประเด็นวิกฤตสุขภาวะภาคใต้ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย
  2. 2. เชื่อมร้อย สร้างและยกระดับกลไกเครือข่ายสุขภาวะ ทั้งรัฐ-ท้องถิ่น-เอกชน-ประชาชน
  3. 3. ยกระดับการจัดการความรู้ นวัตกรรมในงานสร้างเสริมสุขภาพ-สุขภาวะ นำไปสู่การพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 ครั้งที่ 2

    วันที่ 14 กันยายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 08.30 – 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ ภาพรวมการจัดงาน “สานงาน เสริมพลัง วาระสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561”
    • 09.30 – 10.00 น. สรุปการประชุม “สานงาน เสริมพลังที่ จ.นครศรีธรรมราช”
    • 10.00 – 12.00 น.รูปแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 ทบทวนข้อเสนอเชิงนโยบายจากห้องย่อยงานสร้างสุขปี 2559 และสถานการณ์ขับเคลื่อนงาน เสริมพลังในแต่ละประเด็น
    1. ระบบอาหาร : ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการ
    2. การจัดการปัจจัยเสี่ยง : เหล้า บุหรี่ สารเสพติด
    3. สุขภาวะ เด็ก เยาวชน และครอบครัว
    4. การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยวชุมชน
    5. การจัดการภัยพิบัติ
    6. ความมั่นคงทางสุขภาพ : กองทุนตำบล เขตสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) เขตสุขภาพเพื่อประชาชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปรูปแบบ และประเด็นขับเคลื่อนในงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2561 (1) รูปแบบงานสร้างสุข 1. เสวนา – สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน
    2. การขับเคลื่อนวิกฤตภาคใต้ 10 ประเด็น 3. การประชุมวิชาการ
    4. งานวิชาการนโยบายสาธารณะ 4P-W 5. ลานเสวนา และนิทรรศการ 6. เวทีสื่อสารสาธารณะ - จริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม 7. ห้องเรียนปฏิบัติการ (Workshop) เรื่อง ระบบการจัดการฐานข้อมูล และเครื่องมือธรรมนูญ HIA / ธรรมนูญสุขภาพ / 4PW
    8. ก้าวข้ามสู่เครือข่ายสุขภาวะในอาเซี่ยน

    (2) ประเด็นขับเคลื่อนวิกฤตภาคใต้ มี 8 ประเด็น ประเด็น  ผู้รับผิดชอบ เวลา 1. เกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ เรื่องอาหารและโภชนาการ อ.สมคิด ทองสม ห้อง 1-2 (เช้า-บ่าย) 2. การจัดการปัจจัยเสี่ยง นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ห้อง 7 (เช้า) 3.เรื่องเด็กเยาวชนและครอบครัว นายฮาริส มาศชาย ห้อง 3-4 (เช้า-บ่าย) 4. เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว นายเชภาดร จันทร์หอม ห้อง 5-6 (เช้า-บ่าย) 5. การจัดการภัยพิบัติ นายไมตรี จงไกรจักร ห้อง 8 (บ่าย) 6. ความมั่นคงทางสุขภาพ เรื่อง DHB/เขตสุขภาพเพื่อประชาชน /4PW ดร.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย นายจารึก ไชยรักษ์ 10-11 (เช้า-บ่าย) 7. จริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม นายอานนท์ มีศรี ลานสร้างสุข 8. สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม นายอิลฟาน ตอแลมา ห้อง 11 (เช้า) 9. ***ลานชุมชนน่าอยู่ นายไพฑูรย์ ทองสม/นางกำไล สมรักษ์ ลานสร้างสุข

    (3) กรอบการทำงาน (timeline) ในช่วงระยะเวลา 6 เดือน (ตุลาคม 2560 – กุมภาพันธ์ 2561) มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ทบทวนข้อเสนอจากงานสร้างสุขปี 59 2. วางแผนขับเคลื่อนในแต่ละประเด็น มีการเสริมพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่าย โดย สจรส.ม.อ. 3. ขับเคลื่อนงานตามประเด็น และใช้สื่อสารสาธารณะ 4. สังเคราะห์บทเรียน จัดทำเอกสารเผยแพร่ 5. แลกเปลี่ยนนำเสนอในงานสร้างสุขภาคใต้ (4) การสนับสนุนงบประมาณ - สนับสนุนห้องย่อยในวันงานสร้างสุขห้องย่อยละไม่เกิน 10,000 บาท - สนับสนุนกระบวนการทำข้อมูลประเด็นละไม่เกิน 100,000 บาท - เครือข่ายไหนก็สนับสนุนค่าเดินทางในแต่ละเครือข่าย

     

    40 80

    2. ประชุมปรึกษาหารือห้องประชุมวิชาการครั้งที่ 1

    วันที่ 28 กันยายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ
    • เตรียมข้อมูลสำหรับประชาสัมพันธ์งาน
    • กำหนดชื่อ Theme ของงาน
    • ออกแบบกำหนดการเปิดรับผลงานวิชการ
    • ปรึกษาหารือรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชุมรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ กำหนดหัวข้อวิจัยที่จะเปิดรับ
    • เตรียมข้อมูลสำหรับประชาสัมพันธ์งาน ออกแบบสื่อโพสเตอร์ประชาสัมพันธ์ จัดทำเว็บไซต์ประชุมงานวิชาการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ Facebook เว็บประชาสัมพันธ์ ม.อ.
    • กำหนดชื่อ Theme ของงาน กำหนดชื่อรูปแบบของงานคือ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 "สู่สุขภาพที่ยั่งยืนและการขับเคลื่อนไร้ขีดจำกัด" "Contribution to Sustainable Health and Movement beyonnd Boders"
    • ออกแบบกำหนดการเปิดรับผลงานวิชการ กำหนดวันที่จะเปิดรับบทความ

    เปิดรับการลงทะเบียนเพื่อส่งบทคัดย่อทางเว็บไซต์ 15 สิงหาคม – 15 มกราคม 2561

    แจ้งผลการพิจารณาบทคัดย่อทางเว็บไซต์ 20 มกราคม 2561

    กำหนดส่งบทคัดย่อที่ปรับแก้แล้ว และบทความฉบับสมบูรณ์ 25 มกราคม 2561

    แจ้งผลการพิจารณาบทความฉบับสมบูรณ์เพื่อแก้ไข 12 กุมภาพันธ์ 2561

    กำหนดส่งบทความฉบับสมบูรณ์ที่ปรับแก้แล้วเป็นครั้งสุดท้าย 28 กุมภาพันธ์ 2561

    กำหนดส่งไฟล์นำเสนอ 25 มีนาคม 2561

    กำหนดการนำเสนอบทความวิชาการ 28 มีนาคม 2561

    • ปรึกษาหารือรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

    กำหนดรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

     

    4 4

    3. ประชุมครั้งที่ 2 ปรับปรุงแก้ไขหัวข้อวิจัยที่เปิดรับและรายงานความก้าวหน้าเว็บไซต์ประชุมวิชาการ

    วันที่ 4 ตุลาคม 2017 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ
    • รายงานความก้าวหน้าการจัดทำเว็บไซต์ประชุมวิชาการ
    • แก้ไขวันที่กำหนดการ โดยขยายเวลารับบทความจนถึงวันที่ 15 สิงหาคม - 10 พฤศจิกายน 2560
    • กำหนดรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจงรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่เปิดรับ

    อ.ซอฟียะห์ กล่าวชี้แจงหัวข้อวิจัยที่เปิดรับและกำหนดชื่อ Theme รูปแบบของงานประชุมวิชาการ โดยกำหนดชื่อคือ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 "สู่สุขภาพที่ยั่งยืนและการขับเคลื่อนไร้ขีดจำกัด" "Contribution to Sustainable Health and Movement beyonnd Boders" สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปีนี้นอกจากรับบทความวิชาการและงานวิจัยแล้วยังได้เปิดรับบทความกึ่งวิชาการ สำหรับเครือข่ายสุขภาพ โดยมีรายละเอียดผลงานที่เปิดรับ ดังนี้

    1.บทความวิชาการและงานวิจัย (สำหรับนักวิจัย นักวิชาการ และบัณฑิตศึกษา)
    1) ด้านระบบบริการสุขภาพ (Health Service System) และนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy)
    2) ด้านการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (Community Health System Management)
    3) ด้านการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment)
    4) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Sciences) ทั้งวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์

    2.บทความกึ่งวิชาการ (สำหรับเครือข่ายสุขภาพ) โดยเนื้อหาการดำเนินงานแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบต่อไปนี้
    1) การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ ด้านการจัดการสุขภาพ
    2) เป็นแหล่งเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ และชุดประสบการณ์ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงในพื้นที่
    3) การสังเคราะห์ทางวิชาการ เพื่อการขยายผลในระดับนโยบาย
    4) การขยายเครือข่ายการเรียนรู้ และสร้างกระบวนการสร้างสุขภาวะชุมชนแบบมีส่วนร่วม

     

    4 4

    4. ประชุมเครือข่ายเตรียมงานสร้างสุข ครั้งที่ 3

    วันที่ 12 ตุลาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    5. จัดทำโพสเตอร์ประชาสัมพันธ์งานประชุมวิชาการ

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์งานในรูปแบบโพสเตอร์ และประชาสัมพันธ์ออนไลน์ผ่านเฟสบุก อีเมล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    200 0

    6. ประชุมเตรียมงานสร้างห้องย่อยทั้งหมด

    วันที่ 15 ธันวาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เครือข่ายสื่อภาคใต้
    • เครือข่ายชุมชนน่าอยู่
    • เครือข่ายอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เครือข่ายสื่อภาคใต้
    • เครือข่ายชุมชนน่าอยู่
    • เครือข่ายอาหาร

     

    30 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสานพลังภาคีเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ยกระดับการขับเคลื่อนประเด็นวิกฤตสุขภาวะภาคใต้ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย
    ตัวชี้วัด : 1. ประสานความร่วมมือทั้ง 4 ส. 2. เชื่อมเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้

     

    2 2. เชื่อมร้อย สร้างและยกระดับกลไกเครือข่ายสุขภาวะ ทั้งรัฐ-ท้องถิ่น-เอกชน-ประชาชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. ยกระดับการจัดการความรู้ นวัตกรรมในงานสร้างเสริมสุขภาพ-สุขภาวะ นำไปสู่การพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสานพลังภาคีเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ยกระดับการขับเคลื่อนประเด็นวิกฤตสุขภาวะภาคใต้ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย (2) 2. เชื่อมร้อย สร้างและยกระดับกลไกเครือข่ายสุขภาวะ ทั้งรัฐ-ท้องถิ่น-เอกชน-ประชาชน (3) 3. ยกระดับการจัดการความรู้ นวัตกรรมในงานสร้างเสริมสุขภาพ-สุขภาวะ นำไปสู่การพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10)

    รหัสโครงการ 60-02146 รหัสสัญญา 60-00-1865 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2017 - 31 พฤษภาคม 2018

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน (แผนงานกลาง สร้างสุข#10) จังหวัด ภาคใต้

    รหัสโครงการ 60-02146

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด