directions_run

สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลการีม อัสมะแอ

ชื่อโครงการ สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2017 ถึง 31 มีนาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2017 - 31 มีนาคม 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังคงมีเหตุการณ์ความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง นับแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมา ประชาชนในพื้นได้รับผลกระทบเป็นหมื่นคน ทั้งเสียชีวิต หรือบาดเจ็บ และทรัพย์สินเสียหาย ประชาชนไม่ถูกนับให้อยู่ในคู่ขัดแย้ง ระหว่างรัฐและผู้เห็นต่าง แต่ประชาชนกลับได้รับผลกระทบมากที่สุดจากเหตุความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ มานานถึงปัจจุบัน 13 ปี การเรียนรู้ของประชาชนที่ต้องอยู่ท่ามกลางสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดการขับเคลื่อนของประชาชน โดยเฉพาะการรวมกลุ่มเพื่อสร้างพื้นที่การเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดปลอดภัย ไม่นำตัวเองเข้าไปสู่สถานการณ์ความขัดแย้ง จนกลายเป็นพลังของประชาชนที่มีพลังเรียกร้อง หาแนวทางสันติวิธีเพื่อนำไปสู่สันติภาพในพื้นที่ การสร้างเครือข่ายภาคประชาชนเป็นการสร้างพื้นที่ที่ให้ประชาชนได้เรียนรู้ เป็นกระบวนการหนึ่งในกระบวนการสันติภาพ สร้างศักยภาพประชาชนด้วยองค์ความรู้ โดยเฉพาะความรู้กระบวนการสันติภาพด้วยสันติวิธีและที่สำคัญเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลได้ส่งเสริม สนับสนุน สร้างบรรยากาศการพูดคุยสันติสุข เป็นเรื่องที่ประชาชนจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงกระบวนการ การพูดคุยสันติสุข ที่กำลังดำเนินการอยู่

ในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม มีสมาชิก จำนวน 250 คน ซึ่งมีเครือข่ายครอบคลุม 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สงขลา และสตูล เห็นความสำคัญต่อหน้าที่อาสาสมัครอัสสลาม ที่มีภารกิจหลัก ด้านสังคมสงเคราะห์ กู้ชีพ และกู้ภัย มีโอกาสได้เข้าถึงประชาชนในพื้นที่ ได้มีโอกาส รับทราบปัญหา ที่ประชาชนได้สะท้อน และโดยพื้นฐานของอาสาสมัครอัสสลามโดยส่วนใหญ่ผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพด้านจิตใจโดยนำหลักการศาสนาอิสลามมาปฏิบัติ ส่วนการพัฒนาศักยภาพด้านความเข้าใจกระบวนการสันติภาพด้วยสันติวิธี เป็น ภารกิจหนึ่ง ที่เครือข่ายได้บรรจุอยู่ในแนวทางการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร

โครงการพัฒนาศักยภาพโดย สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม เป็นการสร้างพื้นที่ในด้านองค์ความรู้ด้านกระบวนการสันติภาพให้แก่อาสาสมัครอัสสลาม ได้เป็นตัวแทนภาคประชาชนที่สามารถสื่อสารกับประชาชนทั่วไปในพื้นที่ ซึ่งแบ่งพื้นที่เป็นสองประเภท คือ1 สันติภาพจากคนในพื้นความขัดแย้งคือ จังหวัดนราธิวาส ยะลา ปัตตานี2 สันติภาพจากคนนอกพื้นที่ความขัดแย้ง คือ จังหวัดสตูล และสงขลา ซึ่งทั้งสองพื้นที่ดังกล่าว ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สื่อสารจากคนในสู่นอกพื้นที่ ทำให้คนนอกพื้นที่ได้มีความเข้าใจ และสามารถนำไปสื่อสารต่อในนอกพื้นที่ความขัดแย้ง ซึ่งจะส่งผลในด้านดีต่อภาพลักษณ์ที่ดีของพื้นที่ความขัดแย้ง ส่วน การสื่อสารจากคนนอกจะได้แสดงความกังวล ความรู้สึกต่อสถานการณ์ในพื้นที่ ที่โอกาสของคนในพื้นมีโอกาสได้สื่อสารอธิบายและนำข้อกังวลต่างของคนนอกพื้นที่นำไปสื่อสารแก่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อประชาชนในพื้นมีโอกาสรับรู้และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีสู่สายตาคนนอก ซึ่ง กระบวนการสร้างความรู้ เพื่อการสื่อสารปากต่อปาก ประชาชนต่อประชาชน เป็นกลไกหนึ่งที่มีพลังต่อการสื่อสารเป็นอย่างมาก และการสื่อสาร สร้างความเข้าใจในข้อมูลที่ถูกต้อง ผ่านการวิเคราะห์ที่ดี ทำให้การสร้างความเข้าใจต่อกระบวนการสันติภาพเป็นไปอย่างถูกต้อง อันแนวทางสำคัญต่อการสร้างกลไกสันติภาพ และเป็นงานแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้กระบวนการสันติภาพให้แก่อาสาสมัครในเครือข่ายอัสสลาม
  2. เพื่อให้อาสาสมัครอัสสลามเป็นผู้สื่อสารสร้างความเข้าใจต่อประชาชนทั้งในและนอกพื้นที่ความขัดแย้งในด้านกระบวนการสันติภาพโดยสันติวิธี
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครที่มีภารกิจสังคมสงเคราะห์ไปสู่กระบวนการเยียวยาทางสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงาน
  2. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกำหนด หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร
  3. จัดประชุมคณะทำงาน
  4. จัดประชุมคณะทำงาน
  5. จัดประชุมคณะทำงาน
  6. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกำหนด หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร

วันที่ 30 กันยายน 2017

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดเตรียมความพร้อมแกนนำอาสาสมัครในแต่ละจังหวัด
  2. อบรมรมกระบวนการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สามารถกำหนดกรอบงานที่จะดำเนินการได้
  2. สามารถสร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการแก่ตัวแทนสมาชิกแต่ละพื้นที่

 

35 35

2. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

-บันทึกข้อมูลรายละเอียดโครงการ -บันทึกข้อมูลกิจกรรม -บันทึกข้อมูลองค์กร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานกิจกรรมผ่านเว็ปไซต์ จำนวน 5 กิจกรรม

 

120 120

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้กระบวนการสันติภาพให้แก่อาสาสมัครในเครือข่ายอัสสลาม 2. เพื่อให้อาสาสมัครอัสสลามเป็นผู้สื่อสารสร้างความเข้าใจต่อประชาชนทั้งในและนอกพื้นที่ความขัดแย้งในด้านกระบวนการสันติภาพโดยสันติวิธี 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครที่มีภารกิจสังคมสงเคราะห์ไปสู่กระบวนการเยียวยาทางสังคม

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงาน (2) เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกำหนด หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร (3) จัดประชุมคณะทำงาน (4) จัดประชุมคณะทำงาน (5) จัดประชุมคณะทำงาน (6) อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างการเรียนรู้กระบวนการสันติภาพ โดยสันติวิธีในเครือข่ายอาสาสมัครอัสสลาม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลการีม อัสมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด