directions_run

โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา ”

ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์

ชื่อโครงการ โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา

ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740020 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2020 ถึง 10 ตุลาคม 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกลไกคณะทำงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่่อรองสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ เกิดคณะทำงานแกนนำ15 คนจากตัวแทนทุกหมู่บ้าน ที่มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญในการขับเคลื่อนรอรับสังคมสูงวัย มีข้อมูลพฤติกรรมเตรียม 4 มิติด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม เกือบทุกหลังคาเรือน(400คน) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5 พบว่า ค่าเฉลี่ยต่ำสุด เรื่องการออมเท่ากับ 2.58 รองลงมา สภาพแวดล้อมเท่ากับ2.95 ด้านสังคม เท่ากับ-3.01และด้านสุขภาพ เท่ากับ 3.15 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ที่จะแก้ปัญหา เรื่องการเงินออมสถาบันการเงิน ปรับสภาพแวดล้อมของห้องน้ำ ห้องส้วม ด้านสุขภาพ เรื่องการออกกำลังกาย เรื่องอาหารหวาน มันเค็ม ผลการจัดเรียนรู้การปรับสภาพบ้านที่อยู่ปลอดภัย ปรับปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำสาธารณะ (วัดท่าพญา 1.ปรับทางลาดทางเข้าห้องน้ำให้ไม่มีรอยต่อสามารถขึ้นลงสะดวกไม่สะดุด 2.เพิ่มราวจับสแตนเลสบริเวณทางเข้าห้องน้ำ 3.ปรับโถส้วมจากแบบนั่งยองเป็นนั่งราบพร้อมติดตั้งสายฉีด จำนวน 6 ห้อง นอกจากนี้ได้ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่องบันไดผลลัพธ์โครงการในการสื่อสารของคณะทำงานและชุมชน
ข้อเสนอแนะ อยากให้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับรู้รายละเอียดโครงการและแนวทางดำเนินการที่ตรงกันและ ผ่านงบประมาณของโครงการผ่านไปคณะทำงานโครงการตำบลท่าพญาโดยตรง เพื่อสะดวกในการดำเนินงาน สิ่งที่ดำเนินการต่อไปของตำบลท่าพญา เรื่องการพัฒนาด้านสังคม เรื่องโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลท่าพญา การออมเงินกับสถานบันการเงินเพื่อรองรับสูงวัยอายุ โดยเน้นใน กลุ่ม40-59ปี กิจกรรมมีการปรับสภาพแวดล้อมบ้านของผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการอกล้ม และกิจกรรมออกกำลังกายที่สอดคล้องวิถีชีวิตของชุมชน และทาเงเทศบาลตำบลได้บรรจุแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยลงในงบเงินอุดหนุน ตอนนี้ตำบลเทศบาลตำบลท่าพญา ได้รับงบประมาณกองทุนระบบดูแลผู้ป่วยสูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงปี2565

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาโครงสร้างประชากรในตำบลท่าพญา ปัจจุบันมีประชากร 3,289 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ 669 คน คิดเป็นอัตราร้อยละ 20.1 ของประชากรทั้งหมด นับเป็นการการขึ้นเป็นสังคมผู้สูงอยุอย่งสมบูรณ์ และในระยะห้าปีข้างหน้าจำนวนผูู้สูงอายุมีแนวโนมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 ต่อปี และในปัจจุบันมีผูู้สูงอายุบางส่วนอยู่ตามลำพังหรือไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม จะเป็นภาระของังคมที่ต้องเข้ามาจัดการหรือดูแล คณะทำงานธรรมนูญสุขภาพตำบลท่าพญาได้ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยที่เริ่มปรากฎขึ้นในเขตตำบลท่าพญา ไม่ว่าปัญหาด้านสาธารณสุข ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพจากโรคไม่ติดต่อ เช่น ความดัน เบาหวาน และโรคซึมเศร้า ด้านสังคมผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มน้อย พบว่าผู้สูงอายุประสบอุบัติเหตุหกล้มในห้องน้ำส่งผลให้เป็นผู้ป่วยติดเตียงและเสียชีวิต ด้วยเหตุนี้ที่ทุกองค์กรในตำบลท่าพญาจำเป็นต้องมีการพัฒนาหรือเสริมศักยภาพให้กับกลุมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และกลุ่มผูู้งอายุ เป็นผู้ที่มีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตปัญญาสังคม ตำบลท่าพญา มีชมรมผู้สูงอายุที่ขับเคลื่อนงานด้านผู้สูอายุ แต่ยังคงมีข้อขัดข้อง คือ ด้วยทีมเป็นผู้สูงอายุ ทำให้ขาดพลังในการขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบ ดำเนินกิจกรรมเฉพาะกิจที่เอื้อให้กับงานของเทศบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เช่น อบรมห้ความรู้ งานวันผู้สูงอายุ ทัศนศึกษาดูงาน ซึ่งำกันมาอย่างยาวนานหลายปีี แต่อค์กรยังไม่เข้มแข็ง ไม่สามารถพัฒนายกระดับเป็นคณะทำงานที่่วขับเคลื่่อนเพื่อรองรัลสังคมสูงวัยในตำบลที่เกิดจากการร่วมมือหลายภาคส่วน หมายรวมถึงกลุ่มเตรรียมรองรับสังคมสูงวัยที่ไม่ใช่เฉพาะผู้สูงอายุ ดั้งนั้น การจัดทำโครงการการจัดการเรียนรู้การพัมนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในตำบลท่าพญาเพื่อสร้งกลไกคณะทำงานขับเคลื่อน ที่มาจากหลายภาคส่วนช่วงวัยอื่นร่วมขับเคลื่อน มีการเพิ่มศักยภาพคณทำงาน ให้ตระหนักต่อสถานการณ์สังคมสูวัย และสร้างกติกาจากการมีส่วนร่วมในตำบล จัดกระบวนการเรีียนรู้ พัฒนาทักษเพื่อพัฒนาคุณภาพชวิตของคนในตำบลท่าพญา ให้มีความพร้อในสังคมสูวัยอย่างอยู่ดีปลอดภัยอย่งมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.เพื่อจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อรองรับังคมผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่วนที่ สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม(เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส.เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  2. กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพคุณภาพชีวิตคนสูงวัย
  3. กิจกรรมที่ 5 จัดกระบวนการเรียนรู้การปรับภาพบ้านที่อยู่ดีปลอดภัยตำบลท่าพญา.
  4. กิจกรรมที่ 2 จัดทำฐานข้อมูลสังคมสูงวัยในตำบลท่าพญา
  5. กิจกรรมที่ 4การจัดการเรียนรู้พัฒนาศักยภาพเตรียมตัวรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลท่าพญา
  6. กิจกรรมที่ 3 จัดทำแผนและข้อตกลงตำบลเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขับเคลื่อนการเตรีมรองรับสังคมูงวัย.
  7. กิจกรรมที่ 6 เวทีสรุปบทเรียนโครงการ.
  8. กิจกรรมที่ 7 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
  9. บัญชีธนาคาร
  10. 1.ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  11. กิจกรรมที่ 4.1 การจัดการเรียนรู้พัฒนาศักยภาพเตรียมตัวรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลท่าพญา
  12. กิจกรรมที่ 4.2 การจัดการเรียนรู้พัฒนาศักยภาพเตรียมตัวรองรับสังคมผู้สูงวัยตำบลท่าพญา
  13. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส.หรือหน่วยจัดการ
  14. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  15. กิจกรรมที่ 1.1 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย(ครั้งที่ 1)
  16. กิจกรรมที่ 1.2 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย (ครั้งที่2)
  17. กิจกรรมที่ 2.1 ประชุมออกแบบกระบวนการจัดเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วม
  18. กิจกรรมที่ 1.3 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย(ครั้งที่3)
  19. ค่าจัดทำนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  20. กิจกรรมที่ 2.2 เวทีวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลจากการสำรวจ
  21. กิจกรรมที่ 5.1 จัดกระบวนการเรียนรู้การปรับภาพบ้านที่อยู่ดีปลอดภัยตำบลท่าพญา
  22. กิจกรรมที่ 1.4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย (ครั้งที่4)
  23. กิจกรรมที่ 1.5 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย (ครั้งที่5)
  24. กิจกรรมที่ 3 จัดทำแผนและข้อตกลงตำบลเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขับเคลื่อนการเตรีมรองรับสังคมูงวัย
  25. กิจกรรมที่ 5.2 ปรับจุดเสี้ยงบ้านและพื้นที่สาธารณะในชุมชนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  26. กิจกรรมที่ 6 เวทีสรุปบทเรียนโครงการ
  27. กิจกรรมที่ 7 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
  28. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชนอายุ 40-59 ปี 80
กลุ่มเป้าหายรอง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 60 ปีึ้นไป 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส.หรือหน่วยจัดการ

วันที่ 15 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน 15 ต.ลาคม 2563 ประชุมปฐมนิเทศโครงการ 31 กรกฎาคม 2563 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 16 ธันวาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

15 ตุลาคม 2563 นางสาวรัชนี อารีย์รักษ์ เข้าร่วประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ทำให้เจ้าหน้าที่รับทราบแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานโครงการ 31 กรกฎาคม 2563 นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์ และนางสาวรัชนี อารีย์รักษ์ เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการ เพื่อรับทราบแนวทางของโครงการที่สนับสนุนโย สสส. 16 ธันวาคม 2563 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เพื่อนำเสนอความก้าวหน้าของโครงการ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพื้นที่อื่นๆ ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ 3 คน 1.นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์ นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา 2.นางสาวรัชนี อารีรักษ์
3.นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์

 

0 0

2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส.สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 25 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้าย -ป้ายปลอดบุหรี่ -ป้ายโครงการ/บันไดความสำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จัดทำป้ายปลอดบุหรีและปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล เพื่อติดไว้ในสถานที่จัดประชุมหรือจัดกิจกรรมทุครั้ง ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมได้สำนึกและตระหนักถึงโทษของสิ่งเหล่านี้ -จัดทำป้ายชื่อโครงการและบันไดผลลพธ์ เพื่อให้คณะทำงาน ผู้เข้าร่วมโครงการรู้และเข้าใจและช่วยกันดำเนินโครงการให้บรรลุผลที่กำหนดไว้

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 1.1 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย(ครั้งที่ 1)

วันที่ 26 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

-ผู้ประสานงานชี้แจงรายละเอียดโครงการ -แนะนำคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้ง -บทบาทหน้าที่คณะทำงาน -วางแผนการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน20คน ประกอบด้วยตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งอปท.ฝ่ายปกครอง/องค์กรภาคประชาชน/ผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ 1.นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา 2.นางกุสุมา  กุลบุญ  ประธานชมรมผู้สูงอายุ 3.รองนายกเทศมนตรีที่ได้รับมอบหมาย 1 ท่าน 4.นายสุชีพ  ศรีไตรรัตน์  ประธานกรรมการวัดท่าพญา 5.กำนันตำบลท่าพญา 6.ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 ตำบลท่าพญา 7.ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา 8.ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ตำบลท่าพญา 9.นางปนัดดา  พิชัยรัตน์  ประธาน อผส.ตำบลท่าพญา 10.นายจรูญ  นาคพล ประธานอสม.ตำบลท่าพญา 11.ผอ.รพสต.ท่าพญา 12.นางสวาทวรรณ์  มนัสนิโลบล ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดตรัง 13.นายจรัส  วงษ์วิวัฒน์  ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข 14.นางจุรี  สว่างรัตน์  ตัวแทนสมาชิกสภาเทศบาล  เขต 2 15.นางสุกานดา  ส่งศรี ตัวแทนสมาชิกสภาเทศบาล เขต 1 16.นางจิราพร  รัตนสุรการย์  ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข 17.นางสุจิตร  เดิมหลิ่ม  ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการศึกษา 18.หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาลตำบลท่าพญา 19.นักวิเคราะห์นโยบายและแผน เทศบาลตำบลท่าพญา 20.นักพัฒนาชุมชน  เทศบาลตำบลท่าพญา (เลขานุการ) โดย ตัวแทนจาก สสส.ตรัง ทำความเข้าใจชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ และเป้าหมายโดยรวม นายนิรัตน์  รัตนสุรการย์  นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา กล่าวความเป็นมาของโครงการและเป้าหมายที่เสนอโครงการนี้เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าพญาเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่สังคมสูงวัย ทั้งทางด้านสุขภาพ สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และด้านอื่นๆ ร่วมทั้งร่วมกำหนดบทบาทคณะทำงานแต่ละท่านให้รับผิดชอบงานและแบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบรวมทั้งคัดอาสาสมัครจัดเก็บข้อมูลและกลุ่มเป้าหมายที่จะร่วมโครงการ 100 คน แบ่งเป็นช่วงอายุ 40-59 ปี 80 คน อายุ60 ปีขึ้นไป 20 คน นายชนพัฒน์ได้หารือคณะทำงานเพื่อกำหนดแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน โดยที่ประชุมสรุปกำหนดโครงการให้แล้วเสร็จในเดือนเมษายน 2564 ก่อนปิดโครงการ 1 เดือน มีการประชุมคณะทำงาน 5 ครั้ง
    การประชุมทีมเก็บข้อมูล การประชุมเพื่อทบทวน และการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน 2563 และกำหนดกิจกรรมกับกลุ่มเป้าหมายในเดือน มกราและกุมภาพันธ์ 2564

 

20 0

4. กิจกรรมที่ 1.2 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย (ครั้งที่2)

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วม โดยวิทยากรภายนอก 3 ชม. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ และวิทยากรจากทีมพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กล่าวเปิดการประชุมให้ความรู้โดยนายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา และให้แนวทางแก่คณะทำงานเรื่องการมีส่วนร่วม 2.ฝ่ายเลขานุการแนะนำกิจกรรม 2.1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานสังคมสูงวัยและตัวอย่างการดำเนินงานของพื้นที่อื่นๆ โดยการมีส่วนร่วมระหว่างรัฐ อปท. มหาวิทยาลัยสงขลานครินวิทยาเขตตรัง และประชาชนและคณะทำงานในจังหวัดตรังทั้ง 12 พื้นที่ และพื้นที่วัดด้วย โดยนายเชภาดร  จันทร์หอม ทีมพี่เลี้ยงจากสสส. 2.2การบรรยาย แนวทางการดำเนินงานและการจัดกระบวนการเรียนรู้สังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วม โดย นางยินดี  สุวรรณเวลา เจ้าพนักงานสาธารณสุข เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ พูดถึงแนวทางส่งเสริมและแสวงหาการมีส่วนร่วม ในระดับพื้นที่ การดูและผู้สูงอายุตามแนวทางมาตฐานสาธารณสุข การเรียนรู้ที่จะปรับตัวของผู็ที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ และที่ควรสนับสนุนและดำเนินการในอนาคต 3.สรุปและกล่าวปิดโครงการโย นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา

 

20 0

5. กิจกรรมที่ 2.1 ประชุมออกแบบกระบวนการจัดเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วม

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

คัดเลือกอาสาสัครจัดเก็บข้อมูลโดยคณะทำงาน ประชุมอาสาสมัครผู้จัดเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานคัดเลือกอาสาสมัครจากทุกหมู่บ้านโดยเป็นตัวแทนจากกลุ่มอสม./และฝ่ายปกครอง /เด็กและเยาวชน เพื่อเป็นตัวแทนสำรวจข้อมูล 2.นายนิรัตน์  รัตนสุรการย์  นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญากล่าวเปิดและให้แนวทางการสำรวจข้อมูล ขอให้เข้าถึงชาวบ้านจริงๆ เทศบาลจะได้รับทราบปัญหาของประชาชนในพื้นที่ประชุมคณะอาสาสมัคร จำนวน 20 คน(หมู่บ้านละ 4 คน)โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการสอบถามข้อมูลที่ถูกต้อง การเข้าหากลุ่มเป้าหมาย การแบ่งพื้นที่การจัดเก็บเพื่อไม่ให้ซ้ำซ้อนและได้ข้อมูลอย่างถูกต้องสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างแมนยำและนำมาเป็นข้อมูลเพื่อดำเนินโครงการต่อเนื่องและกำหนดโครงการในเทศบัญญัติได้ โดย นางยินดีสุวรรณเวลา  เจ้าพนักงานสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ นางเรวดี  ชูบาล  ปลัดเทศบาลตำบลท่าพญา

 

20 0

6. กิจกรรมที่ 1.3 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย(ครั้งที่3)

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

ทบทวนการดำเนินงาน วางแผนการดำเนินกิจกรรมในช่วงต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทบทวนการดำเนินงานผลจากการจัดเก็บข้อมูลที่ได้กลุ่มเป้าหมายที่ยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเช่นคิดว่าตนเองยังไม่สูงอายุไม่น่าจะเข้าร่วมกิจกรรมด้วย
2.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมและที่สำรวจไม่ตรงกันรพหว่างเก็บข้อมูล 400 ชุดแต่ร่วมโครงการ เพียง 100 คน จึงมีคำถามว่าทำเพื่ออะไร 3.ประเด็นที่เกิดปัญหาแล้วไม่มีคนชี้แนะแนวทาง -แนวทางแก้ไขคือให้คณะทำงานและอาสาสมัครชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์เพิมเติมแก่กลุ่มเป้าหมาย -ทำความเข้าใจกับคณะทำงานเกี่ยวกับโครงการให้ละเอียดขึ้น -ประสานผู้ประสานงานจังหวัดให้จัดหาพี่เลี้ยงระดับพื้นที่มาแนะแนวทางการทำงานให้บ่อยขึ้น รายละเอียดอื่นๆให้ไปคุยตอนสรุปผลการดำเนินงานครั้งที่ 1 ARE

 

20 0

7. กิจกรรมที่ 2.2 เวทีวิเคราะห์รวบรวมข้อมูลจากการสำรวจ

วันที่ 2 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา เชิญคณะทำงาน จัดเตรัมข้อมูลเพื่อให้คณะทำงานวิเคราะห์ความถูกต้องของข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะทำงานหรือผู้แทนทั้ง 20 ท่าน มีข้อมูลที่ได้จากการสำรวจของอาสาสมัครจัดเก็บข้อมูล จำนวน 412 ชุด แยกเป็น 4 หมู่บ้านโดยเฉลี่ยหมู่บ้านละ 100 ชุด ข้อมูลโดยสรุปข้อมูลการเตรียมความพร้อมทั้ง 4 ด้าน ดังนี้
1.ความพร้อมด้านสุขภาพ ระดับดี ค่าเฉลี่ย 3.15 2.ความพร้อมด้านสังคม ระดับดี ค่าเฉลี่ย 3.01 3.ความพร้อมด้านสภาพแวดล้อม  ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.95 4.การเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจ ระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย 2.58 คณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูลแล้วเห็นควรดำเนินการโครงการเพื่อแก้ไข้ปัญหาด้านต่างๆที่มีค่าเฉลี่ยตำก่อนดังนี้ 1.ด้านสุขภาพ 1.1 การการส่งเสริมการออกกำลังกาย 1.2 ส่งเสริมการรับประทานอาหารลดหวาน มัน เค็ม 2.ด้านสังคม   2.1 ให้มีชมรมผู้สูงอายุ มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย และจิต   2.2ส่งเสริมความรู้เรื่องสิทธิสวัสดิการผู้สูงอายุ 3.ด้านสภาพแวดล้อม   3.1 สภาพห้องน้ำมีราวจับมีโถนั่งราบ   3.2 สถานที่ราชการ วัด หรือ ศาสนสถาน มีราวจับ มีทางลาดเอียง 4.ด้านเศรษฐกิจ   4.1 มีการออมในรูปแบบต้นไม้ ดิน สัตว์   4.2 มีเงินเก็บในรูปเงินออมที่เตรียมไว้ในวัยสูงอายุ   4.3 ได้รับการส่งเสริมอาชีพจากหน่วยงานต่างๆ
โดยเห็นว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ชมรมผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ กองทุนสปสช. บูรณาการร่วมกันเพื่อดำเนินกิจกรรม ในเบื้องต้น เทศบาลตำบลท่าพญา กำหนดแผนและเทศบัญญัติ กำหนดโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมแล้วทั้ง 3 ด้าน เช่น โรงเรียนผู้สูงอายุที่จะให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุ ในรายวิชาต่างๆให้ครอบคลุม การอบรมอาชีพ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565

 

20 0

8. กิจกรรมที่ 5.1 จัดกระบวนการเรียนรู้การปรับภาพบ้านที่อยู่ดีปลอดภัยตำบลท่าพญา

วันที่ 7 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

อบรม/สำรวจพื้นที่ เชิญคณะทำงานและวิทยากรเข้าร่วมอบรมให้ความรู้และสำรวจออกแบบพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมจัดกระบวนการเรียนรู้การปรับสภาพบ้านที่อยู่ดีปลอดภัยตำบลท่าพญา โดยกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1.กิจกรรมให้ความรู้ หัวข้อบ้านที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย โดยนายศุภชัย  อินทร์สังข์ ผู้อำนวยการกองช่าง และหัวข้อ การปรับสภาพแวดล้อมรองรับสังคมสูงวัยในพื้นที่สาธารณะ 2. กิจกรรมสำรวจพื้นที่เพื่อออกแบบสภาพแวดล้อมพื้นที่สาธารณะ(วัดท่าพญา)เพื่อรองรับสังคมสูงวัย การบรรยายหัวข้อแรกโดย ผู้อำนวยการกองช่าง โดยวิทยากรได้รับข้อมูลในการให้ความรู้จากกรมกิจการผู็สูงอายุโดยสรุป ดังนี้
การออกแบบบ้านเพื่อผู้สูงอายุ
        ควรออกแบบให้มีทางลาดไว้ขึ้น – ลง แทนบันได เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่นั่งรถเข็น ซึ่งความกว้างของทางลาดต้องกว้างไม่ต่ำกว่า 90 เซ็นติเมตร มีอัตราความลาดชันไม่น้อยกว่า 1:12 เช่น ถ้าพื้นสูง 1 เมตร ทางลาดต้องยาว 12 เมตร และควรติดตั้งราวจับที่มีความสูง 80-90 เซนติเมตร เพื่อเป็นตัวช่วยให้กับผู้สูงอายุในการขึ้นลง         ควรเลือกประตูที่มีความกว้างไม่ต่ำกว่า 90 เซนติเมตร เว้นพื้นที่ส่วนที่บานประตูจะต้องเปิดออกไปให้มีความกว้างเพียงพอ เพื่อการเข้า-ออกที่สะดวก ไม่ควรมีธรณีประตู กันการสะดุดล้ม และต้องมีระยะของมือจับสูงจากพื้น 100 เซนติเมตร หลีกเลี่ยงการใช้ลูกบิด โดยใช้การโยกแทน ในกรณีที่มีผู้สูงอายุที่นั่งรถเข็น ควรออกแบบให้หน้าต่างจากพื้นประมาณไม่เกิน 75 – 100 เซนติเมตร เพื่อให้ผู้สูงอายุนั่งชมวิวภายนอกได้ คำแนะนำ : ประตูที่ดีสำหรับคนทุกวัยควรเป็นประตูบานเลื่อน เพราะออกแรงในการเปิดน้อยกว่า แถมยังประหยัดพื้นที่ใช้สอย ควรเลือกวัสดุปูพื้นที่มีผิวสัมผัสไม่ลื่น และไม่มีลายมากจนเกินไปเพราะจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกเวียนหัว และตาลาย เช่น กระเบื้องดินเผาปูพื้น ในส่วนการใช้สอยที่ต่างกันควรใช้สีที่ตัดกัน เพื่อให้ผู้สูงอายุมองเห็นได้ชัดเจน เช่น พื้น ผนัง พื้นต่างระดับ รวมถึงบัวเชิงผนัง เลี่ยงการปูพรม เพราะกักเก็บฝุ่น และยังเป็นอุปสรรคต่อล้อของรถเข็น นอกจากนี้ยังอาจจะเกิดการสะดุดได้         เป็นส่วนที่ทุกคนในบ้านจะสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้ ควรจัดวางเฟอร์นิเจอร์ให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม เป็นระเบียบเรียบร้อย และมีพื้นที่ว่างให้เพียงพอที่จะสะดวกต่อการให้รถเข็นผ่าน ในกรณีที่มีผู้สูงอายุต้องนั่งรถเข็น ภายใต้บรรยากาศปลอดโปร่งโล่งสบาย เน้นให้แสงสว่างเข้าถึง และอากาศมีถ่ายเท         ในจุดที่ใช้ประกอบอาหาร ควรมีการเข้าถึงได้อย่างสะดวกสบาย เอื้อให้ทุกคนสามารถทำอาหารร่วมกันได้ โต๊ะอาหาร หรือเคาน์เตอร์ครัว ควรออกแบบให้ข้างใต้เปิดโล่ง มีความสูงจากพื้นประมาณ 60 – 80 เซนติเมตร และความลึกไม่ต่ำกว่า 40 เซนติเมตร         สำหรับห้องนอนของผู้สูงอายุ ควรออกแบบให้มีห้องน้ำในตัว หรือหากไม่มีก็ควรอยู่ใกล้กับห้องน้ำมากที่สุด เตียงควรมีความสูงจากพื้นประมาณ 40 – 50 เซนติเมตร มีไฟที่หัวเตียง เพื่อความสะดวกต่อการเข้าห้องน้ำในตอนกลางคืน และพื้นที่ว่างทั้ง 3 ด้าน รอบ ๆ เตียง ต้องมีความกว้างแต่ละด้านไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร โต๊ะเครื่องแป้งต้องมีที่โล่งด้านล่างสูง 60 ซม. และตู้เสื้อผ้าไม่ควรสูงจนเกินไป         เป็นจุดที่สำคัญที่สุด ที่เราควรใสใจ เพราะอุบัติเหตุในบ้านมักเกิดในห้องน้ำ เราจึงต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้สูงอายุ เริ่มจากประตูทางเข้าควรเป็นบานเลื่อน และภายในห้องน้ำควรมีความกว้างไม่ต่ำกว่า 2 ตารางเมตร โถสุขภัณฑ์ต้องเป็นแบบนั่งราบ มีความสูงจากพื้นประมาณ 40-50 เซนติเมตร และมีราวจับเหล็กอยู่ข้าง ๆ อ่างล้างหน้าควรมีรูปแบบเว้า และกระจกควรมีความสูงที่พอดีกับความสูงของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ก๊อกน้ำก็ควรเป็นแบบคันโยก เพราะใช้แรงในการเปิดน้อยกว่า         จัดสวนเล็ก ๆ ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือมีพื้นที่ในการปลูกต้นไม้ เป็นกิจกรรมให้ผู้สูงอายุทำเพื่อคลายเหงา และสร้างบรรยากาศที่สดชื่นให้กับบ้าน วัสดุที่ใช้ตกแต่งสวนควรเป็นสีโทนร้อน เช่น อิฐแดง อิฐมอญโบราณ อิฐปูพื้น ลีกเลี่ยงวัสดุสีอ่อน เช่น สีฟ้า สีเทา สีเหลือง เพราะไม่เหมาะกับผู้สูงอายุที่มีปัญหาสายตาพร่ามัว นอกจากการออกแบบบ้านที่เหมาะกับผู้สูงอายุแล้ว สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน เพราะฉะนั้นอย่าลืมหมั่นเติมความรัก ความอบอุ่นให้แก่ผู้สูงอายุ เพียงเท่านี้ทุกคนในครอบครัวก็จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขแล้ว       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตรีชาติ เลาแก้วหนู คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ความรู้การปรับสภาพแวดล้อมรองรับสังคมสูงวัยในพื้นที่สาธารณะ โดยอ.ตรีชาติ แนะนำรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ภายในบ้าน นอกบ้าน ห้องน้ำสาธารณะ ราวจับชนิดต่างๆในหลากหลายระดับราคาแหล่งหาวัสดุต่างๆ พร้อมทั้งลงพื้นที่วัดท่าพญาสำรวจออกแบบร่วมกับนักศึกษาและบัณฑิตจบใหม่ บริเวณ ห้องน้ำ หน้าอาคารบำเพ็ญกุศลศพ ราวจับทางขึ้นอุโบสถ ศาลาการเปรียญ และออกแบบห้องน้ำศุนย์การศึกษาพิเศษบริเวณสำนักงานเทศบาลเก่าพร้อมแนะนำวิธิการปรับสภาพแวดล้อม โดยที่ประชุมเห็นด้วยให้ปรับปรุงห้องน้ำวัดเป็นสถานที่แรก

 

20 0

9. กิจกรรมที่ 1.4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตคนสูงวัย (ครั้งที่4)

วันที่ 25 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวัน เวลา สถานที่จัดประชุมร่วมกับพี่เลี่ยงและฝ่ายเลขานุการ 2.ออกหนังสือเชิญประชุม 3.ดำเนินการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 เป็นการประชุมที่ห่างจากการประชุมครั้งที่ 3 เนื่องจากโครงการหยุดสาเหตุมาจากมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น และสถานการณ์โควิด 19 ในพื้นที่การประชุมครั้งนี้ประกอบด้วยคณะทำงาน พี่เลี้ยง จำนวน 20 คน สาระสำคัญในการประชุมดังนี้ 1.ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการที่ผ่านมา คือ ขาดการประชุมและดำเนินโครงการตามแผนงานด้วยสาเหตุความพร้อมของพื้นที่ สถาณการโรคระบาดทำให้โครงการล่าช้ากว่ากำหนด 2.ผลการดำเนินงานตามแผนงาน มีการดูรายละเอียดของของงานที่ทำไปแล้ว และที่ยังไม่ดำเนินการโดยดำเนินไปแล้วคือการประชุมคณะทำงานแล้ว 3 ครั้ง ๆนี้เป็นครั้งที่ 4 การประชุมอาสาสมัครจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ส่วนกิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ จะดำเนินการเท่าที่ทำได้ในกรอบระยะเวลาที่เหลือ โดยคำนึงถึงความปลอดภัย และการป้องกันโรค โควิด 19 โดยพี่เลี้ยงให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะเช่นการประชุมผ่านระบบZOOM และกำหนดการปรับสภาพบ้าน หมู่บ้านละ 1 หลัง เป็นการปรับสภาพแวดล้อมวัดท่าพญาแทน โดยจะเชิญวิทยากรและคณะทำงานมาร่วมประชุมในวันที่ 7 มิถุนายน 2564และได้ดำเนินการเรียนร้อยแล้วโยกำหนดปรับสภาพแวดล้อมให้แล้วเร็จภายในเดือนกันยายน 2564

 

20 0

10. กิจกรรมที่ 5.2 ปรับจุดเสี้ยงบ้านและพื้นที่สาธารณะในชุมชนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 15 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำวัดท่าพญา เพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและคนทุกประเภท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำสาธารณะดังนี้ 1.ปรับทางลาดทางเข้าห้องน้ำให้ไม่มีรอยต่อสามารถขึ้นลงสะดวกไม่สะดุด 2.เพิ่มราวจับสแตนเลสบริเวณทางเข้าห้องน้ำ 3.ปรับโถส้วมจากแบบนั่งยองเป็นนั่งราบพร้อมติดตั้งสายฉีด จำนวน 6 ห้อง

 

10 0

11. กิจกรรมที่ 6 เวทีสรุปบทเรียนโครงการ

วันที่ 28 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการความก้าวหน้า ของโครงการกิจกรรมสิ่งที่ทำได้ตามแผนงานและสิ่งที่ทำไม่ได้ปัญหาอุปสรรคและผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการในรอบปี

 

50 0

12. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินผู้จัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินผู้จัดโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.เพื่อจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อรองรับังคมผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 2.1 กุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ 20 2.2 มีกฎกติกาข้อตกลงในการเตรียมรองรับสังคม เตรียมรองรับังคมสูงวัย จากกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทุกภาคส่วน 2.3 มีแผนชุมชนพัฒนาคุณภาพชีวิตเพือเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ที่ได้รับสามารถนำไปสู่การปฏิัติจริงของชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลท่าพญาและองค์การที่เกี่ยวข้อง 2.4 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ผู้ที่มีอายุไม่ถึง 60 ปี สมัครเข้าเป็นสมาชิกชมรมผูสูงอยุเพิ่มขึ้นร้อยะ 20 2.5 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวััย ผูที่มีอายุไม่ถึง 60 ปี มีการออมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2.6 เกิดบ้านต้นแบบปรับสภาพแวดล้อมอยู่ดีปลอดภัยอย่างน้อยหมู่บ้านล่ะ 1 หลัง รวม 4 หลัง
15.00 15.00

2.1-2.5กิจกรรมนี้ไม่ได้ดำเนินการเนื่องเลือกตั้งนายกเทศบาล กิจกรรมโครงการล่าช้า และผู้รับผิดชอบงาน ย้ายไปรับตำแหน่งใหม่ ขาดความต่อเนื่อง 2.6ปรับกิจกรรมปรับlสภาพแวดล้อม วัด แทน
-วัดท่าพญา เรื่่องทางลาด ห้องน้ำห้องส้วมนั่งราด เพื่อเราทุกคน ปรับให้มีราวจับ ใส่สายชำระ -ส่วนที่พักสงฆ์ ท่าพญาได้รับจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างปี2565 จากสำนักงบประมาณผ่านทาง มอ.ตรัง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชนอายุ 40-59 ปี 80 80
กลุ่มเป้าหายรอง ได้แก่ ผู้สูงอายุ 60 ปีึ้นไป 20 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกลไกคณะทำงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่่อรองสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ เกิดคณะทำงานแกนนำ15 คนจากตัวแทนทุกหมู่บ้าน ที่มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญในการขับเคลื่อนรอรับสังคมสูงวัย มีข้อมูลพฤติกรรมเตรียม 4 มิติด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม เกือบทุกหลังคาเรือน(400คน) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5 พบว่า ค่าเฉลี่ยต่ำสุด เรื่องการออมเท่ากับ 2.58 รองลงมา สภาพแวดล้อมเท่ากับ2.95 ด้านสังคม เท่ากับ-3.01และด้านสุขภาพ เท่ากับ 3.15 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ที่จะแก้ปัญหา เรื่องการเงินออมสถาบันการเงิน ปรับสภาพแวดล้อมของห้องน้ำ ห้องส้วม ด้านสุขภาพ เรื่องการออกกำลังกาย เรื่องอาหารหวาน มันเค็ม ผลการจัดเรียนรู้การปรับสภาพบ้านที่อยู่ปลอดภัย ปรับปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำสาธารณะ (วัดท่าพญา 1.ปรับทางลาดทางเข้าห้องน้ำให้ไม่มีรอยต่อสามารถขึ้นลงสะดวกไม่สะดุด 2.เพิ่มราวจับสแตนเลสบริเวณทางเข้าห้องน้ำ 3.ปรับโถส้วมจากแบบนั่งยองเป็นนั่งราบพร้อมติดตั้งสายฉีด จำนวน 6 ห้อง นอกจากนี้ได้ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่องบันไดผลลัพธ์โครงการในการสื่อสารของคณะทำงานและชุมชน
ข้อเสนอแนะ อยากให้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับรู้รายละเอียดโครงการและแนวทางดำเนินการที่ตรงกันและ ผ่านงบประมาณของโครงการผ่านไปคณะทำงานโครงการตำบลท่าพญาโดยตรง เพื่อสะดวกในการดำเนินงาน สิ่งที่ดำเนินการต่อไปของตำบลท่าพญา เรื่องการพัฒนาด้านสังคม เรื่องโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลท่าพญา การออมเงินกับสถานบันการเงินเพื่อรองรับสูงวัยอายุ โดยเน้นใน กลุ่ม40-59ปี กิจกรรมมีการปรับสภาพแวดล้อมบ้านของผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการอกล้ม และกิจกรรมออกกำลังกายที่สอดคล้องวิถีชีวิตของชุมชน และทาเงเทศบาลตำบลได้บรรจุแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยลงในงบเงินอุดหนุน ตอนนี้ตำบลเทศบาลตำบลท่าพญา ได้รับงบประมาณกองทุนระบบดูแลผู้ป่วยสูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงปี2565

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

จากการดำเนินงานตลอดระยะเวลาโครงการพบปัญหาอุปสรรคหลายๆประการ เช่นการเริ่มโครงการที่ล่าช้ากว่ากำหนด ระยะเวลาโครงการจึงสั้นลง ประกอลกับสถานการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้่อโคโรนา โควิด 19 ในพื้นที่ ทั้งการติดเชื้อและการกักตัวของประชาชนในพื้นที่ ทำให้โครงการที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการประชุมและฝึกอบรมไม่สามารถดำเนินการได้

การประสานงานระหว่างพื้นที่ คณะทำงาน พี่เลี้ยงและแหล่งทุนยังขาดการเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพ ฝ่ายเลขานุการขาดความต่อเนื่องในการทำงาน/สถานการโรคระบาดในพื้นที่

ให้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับรู้รายละเอียดโครงการและแนวทางดำเนินการที่ตรงกัน


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา

รหัสโครงการ 63001740020 ระยะเวลาโครงการ 30 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การปรับสภาพแวดล้อมในวัด เพื่อทุกคน

ภาพกิจกรรม

พัฒนาห้องห้องน้ำห้องส้วม ครบทุกหลังและปรับของที่พักสังฆ์ด้วยที่ท่าพญาใน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

สำรวจการปรับสภาพแวดล้อมของวัด ใช้งบประมาณภาคท้องถิ่น ประชาชน

ภาพกิจกรรม

ปรับห้องน้ำของกลุ่มสูงอายุในหมู่บ้านๆละอย่างน้อย1หลัง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

กลุ่มออกกำลังกาย ของหกลุ่มสตรี

ทีมนำออกกำลังกาย

ความต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

กิจกรรมในวัดของผู้สูงอายุ

ทุก8 ค่ำ และ15 ค่ำ ของเดือน

โรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลท่าพญา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

กองทุนสวัสดิการ เทศบาลตำบล4 หมู่บ้าน

ทะเบียนรายชื่อสมาชิก

สถาบันการเงินอื่น ธกศ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

นักบริบาล 2คน ของอปท

รายงานการวางแผนดูแล

กองทุนดูแลผุ้ป่วยระยะยาว(LTC) ร่วมกับสปสช12 สงขลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การเก็บข้อมูลพฤติกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ และร่วมกับรพสตในการคัดกรอง ผู้สูงอายุ 4 ระดับ เพื่อเตรียมLTC

รายชื่อ ผู้สูงอายุ 4 ระดับ

นำข้อมูลทั้งหมดมาวางแผนดำเนินงานระบบดูแลผู้ป่วยระบาว(LTC)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย40-59 ปี และ60ปีขึ้นไป

ทะเบียนรายชื่อ

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740020

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด