directions_run

ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยามีละห์ กระโด

ชื่อโครงการ ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-01-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2022 ถึง 31 มีนาคม 2023


กิตติกรรมประกาศ

"ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-01-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2022 - 31 มีนาคม 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 130,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากองค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นปัญหาอุบัติเหตุทางท้องถนนว่าเป็นปัญหาสำคัญและเป็นสาเหตุของการสูญเสีย บาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชน จึงได้มีมติร่วมกันให้เป็นวาระสำคัญที่ทุกประเทศจะต้องเร่งดำเนินการแก้ไข โดยประกาศเป็น “ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” (Decade of Action for Road Safety : 2011-2020) โดยตั้งเป้าลดผู้เสียชีวิตลงครึ่งหนึ่งในทศวรรษหน้า ประเทศไทยตอบรับปฏิญญาดังกล่าวโดยรัฐบาลไทยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2556 ประกาศให้ปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนโดยบูรณาการการดำเนินการจากหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นรณรงค์ลดอุบัติเหตุและแก้ไขปัญหาดังกล่าว และตั้งเป้าหมายที่จะลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือไม่เกิน 10 คนต่อประชากรแสนคนภายในปี 2563 ทั้งนี้จากสภาพปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนเป็นสาเหตุที่ทำให้มีผู้บาดเจ็บอยู่ในอันดับต้นๆของประเทศ ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาแม้ว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐหายุทธการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในหลายๆรูปแบบ แต่ยังไม่สามารถลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุลงได้ ทั้งนี้ปัญหาอุบัติเหตุมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งถนนในชุมชน โดยมีสาเหตุมาจากการขับขี่ด้วยความเร็ว ผู้ขับขี่ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย และมีจุดเสี่ยงที่มักเกิดอุบัติเหตุในชุมชน ในปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมา โรงเรียนอุดมศาสน์วิทยายะลา พบปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนของนักเรียน บุคลากรและคนในชุมชน โดยส่งผลกระทบในด้านสุขภาพของประชากรดังนี้ ประชากรได้รับบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุ ในที่นี้พิการ 3 ราย ต้องงดกิจกรรมที่หนักตลอดชีวิตเพราะผ่านการผ่าตัดศีรษะ และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต ซึ่งภายหลังการเกิดอุบัติเหตุจะเกิดภาวะเครียดสะสม ในกรณีบางรายที่ไม่สามารถดำเนินชีวิตเช่นเดิมได้ และทำให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหรือคู่กรณีจำเป็นต้องขาดเรียนหรือหยุดทำงาน ซึ่งในภาวะนี้อาจส่งผลต่อการก่อโจรกรรมหรืออาชญากรรมตามมา อีกทั้งยังส่งผลกระทบในด้านเศรษฐกิจของผู้ประสบอุบัติเหตุและคู่กรณี เช่น ผู้ประสบอุบัติเหตุไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ทำให้ไม่มีรายได้เข้ามา จึงส่งผลกระทบไปยังค่าใช้จ่ายในการรักษาและค่าใช้จ่ายต่างๆต่อคู่กรณี ทั้งนี้ ทำให้เกิดการกู้ยืมเงิน ทั้งในระบบและนอกระบบ ในสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมเช่นกัน การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนไม่เพียงแค่ผู้ประสบภัยหรือคู่กรณีเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบ แต่ยังส่งผลกระทบต่อบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมใกล้ที่เกิดเหตุเกิดความเสียหายจึงนำไปสู่การไกล่เกลี่ย โดยที่ต้องหาบุคคลอื่นมาไกล่เกลี่ย อาทิเช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ตำรวจหรือบุคคลที่สามารถมาไกล่เกลี่ยได้เพื่อคลี่ปัญหาที่เกิดขึ้น อุบัติเหตุบนท้องถนนที่เกิดขึ้นของนักเรียน บุคลากร และคนในชุมชน มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการใช้รถบนถนน ดังนี้ ประชากรส่วนมากอายุยังน้อยไม่มีใบขับขี่ ทำให้ไม่มีความรู้ในเรื่องกฎจราจรการใช้ถนน จึงมีการขับรถย้อนศร ขับรถเร่งรีบฝ่าไฟแดง และแว๊นกันเป็นกลุ่ม ที่สำคัญประชากรไม่มีความตระหนักในความปลอดภัยการใช้ถนน คือ ไม่สวมหมวกกันน็อก เลี้ยวทันทีไม่เปิดไฟเลี้ยว ประมาท เล่นโทรศัพท์ในขณะที่กำลังขับรถจักรยานยนต์ กระโปร่งเข้าล้อ ง่วงแล้วขับทำให้หลับใน และมีการขับรถแซงในเขตห้ามแซง ทั้งนี้ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ถนนครุคระเป็นหลุม/บ่อ ถนนลื่นจากน้ำยาง ความไม่พร้อมของรถจักรยานยนต์ จอดรถทางโค้ง และรถบรรทุกทรายที่ขาดการปิดผ้าใบ ทำให้ทรายตกหล่นบนท้องถนน หรือเข้าตาผู้ขับขี่บนท้องถนน ทำให้การมองและการขับรถบนท้องถนนเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ ในทางเช่นเดียวกันนั้น ประชากรดังกล่าวก็ต้องการความปลอดภัยในการรถใช้ถนนและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการลดอุบัติเหตุ แต่เพียงแค่ขาดความรู้และความเข้าใจการขับขี่อย่างปลอดภัย การเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวทำให้เกิดความเสียหายต่อตัวบุคคลเอง ตลอดจนเกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดเหตุอุบัติเหตุนั้นๆ ทั้งนี้ หากเกิดการรณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจต่อประชากร โดยมีโครงการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนรอบรั้วอุมดสาสน์ ซึ่งเกี่ยวกับการขับขี่บนท้องถนน จะทำให้ประชากรเกิดความรู้และความเข้าใจต่อการใช้รถบนท้องถนนได้ เมื่อเกิดความรู้และความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว จะทำให้ประชากรตระหนักและเกิดความระมัดระวังต่อการใช้รถใช้ถนนได้อย่างปลอดภัย ทำให้การเกิดอัติเหตุลดลงได้ ดังนั้น เมื่ออุบัติเหตุ ในปีการศึกษา 2563 ทางโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยาได้เข้าร่วมโครงการกับ สสส. และได้จัดตั้งโครงการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนรอบรั้วอุดมศาสน์ ซึ่งได้มีการแก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุหลักในการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนของนักเรียน และบุคลากรของโรงเรียน ทางโครการได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของตัวบุคคลที่อาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ และได้มีการแก้ไข ปรับเปลี่ยนจุดเสี่ยงต่างๆทั้งภายในโรงเรียนและบริเวณชุมชนใกล้เคียงโรงเรียน ซึ่งการแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น ทำให้เกิดผลที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ดังนี้ พฤติกรรมเสี่ยงที่มีการปรับเปลี่ยนของนักเรียนมี การสวมหมวกกันน็อกเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 จุดเสี่ยงภายในโรงเรียนและบริเวณชุมชนใกล้เคียงโรงเรียนต่อการเกิดอุบัติเหตุ ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 90 อุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์ลดลง ความรุนแรงของอุบัติเหตุลดลงเนื่องจากนักเรียนมี การสวมหมวกกันน็อคเพิ่มมากขึ้น และอัตราการเสียชีวิตของการเกิดอุบัติเหตุของโรงเรียนเป็นศูนย์ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวเป็นผลจากการจัดตั้งโครงการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนรอบรั้วอุดมศาสน์ที่ผ่านมา และในปี 2565 โรงเรียนอุดม ศาสน์วิทยาได้เสนอโครงการลดอุบัติเหตุโดยเป็นโครงการต่่อเนื่อง จึงได้จัดตั้งเป็นศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษา โรงเรียนอุดมศาสนวิทยา ซึ่งเป้าหมายในปีนี้ คือ พฤติกรรมเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ระหว่างทางโดยมีการสวมหมวกกันน็อก อุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัวและรถโรงเรียนลดลงความรุนแรงของ อุบัติเหตุลดลงเนื่องจากมีการปฏิบัติตามกฎกติการ่วมกันและปฏิบัติตามกฎจราจรเพิ่มขึ้น อัตราการเสียชีวิตของการเกิด อุบัติเหตุของโรงเรียนเป็นศูนย์และเส้นทางโดยสารโดยรถรับส่งโรงเรียนมีความปลอดภัย และลดความเสี่ยงตลอดเส้นทาง จนถึงโรงเรียน ทั้งนี้ โรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา มีต้นทุนเดิมที่เป็นจุดแข็งที่สามารถแก้ไขปัญหา ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนให้ความ ร่วมมือและสนับสนุนทุกๆกิจกรรมส่งผลให้การดำเนินงานโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย แกนนำนักเรียนและ บุคลากรโรงเรียนเข้มแข็ง สารวัตนักเรียนสามารถเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหน้าโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดกลไกการเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและบริเวรใกล้เคียง
  3. 3.เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพทีมจัดทำโครงการย่อย
  2. กิจกรรมที่ 2 การประชุมคณะทำงาน
  3. กิจกรรมที่ 4 เก็บข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุและจุดเสี่ยง
  4. ค่าเปิดบัญชี
  5. กิจกรรมที่ 15 การจัดการจุดเสี่ยง
  6. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้คณะทำงาน
  7. กิจกรรมที่ 5 เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและคืนข้อมูล
  8. กิจกรรมที่ 6 อบรม สร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน
  9. กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน
  10. กิจกรรมที่ 8 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (ARE 1)
  11. กิจกรรมที่ 9 ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน
  12. กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ
  13. กิจกรรมที่ 10 ความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ
  14. กิจกรรมที่ 11 สร้างสื่อออนไลน์
  15. กิจกรรมที่ 12 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (ARE 2)
  16. กิจกรรมที่ 14 รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย
  17. กิจกรรมที่ 16 สังเกตการณ์และบันทึกข้อมูล
  18. กิจกรรมที่ 17 เวทีคืนข้อมูลและเวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3)
  19. กิจกรรมที่ 18 เวทีการสื่อสารและการขยายผลต่อยอดกิจกรรม
  20. เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯปี 65 ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
  21. เวทีปฐมนิเทศและจัดทำข้อสัญญาโครงการย่อยฯ ปี 2565
  22. เวทีเรียนรู้การจัดทำรรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ ปี 2565
  23. จัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่
  24. กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ
  25. เวทีพัฒนาศักยภาพ
  26. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  27. เก็บรวบรวมข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในนักเรียน บุคลากรและชุมชน
  28. วิเคราะห์ข้อมูล
  29. อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน
  30. เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน บุคลการ คนขับรถและผู้ปกครองและคืนข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ
  31. ประชุมครั้งที่ 1
  32. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (สถานที่และข้อมูล)
  33. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 1 (ARE 1 )
  34. อบรมสร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน
  35. พัฒนาวิทยากรกระบวนการประจำศูนย์การเรียนรู็
  36. ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน
  37. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฎข้อบังคับจราจร(อาสาจราจร และสารวัตรนักเรียน คนขับรถรับส่ง)
  38. ประชุมครั้งที่ 2
  39. เวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 1
  40. จัดเวทีความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ(ครู คนขับ นักเรียน ผู้ปกครอง)
  41. สร้างสรรค์สื่อออนไลน์(สื่อหนังสั้น ป้องกันอุบัติเหตุในเยาวชน)
  42. เวทีติดประเมินผล รายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์
  43. ปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่เสี่ยงหรือชำรุด
  44. ประชุมครั้งที่ 3
  45. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 2 (ARE 2)
  46. กิจกรรมรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย
  47. สังเกตการณ์ และบันทึกข้อมูล
  48. ประชุมครั้งที่ 4
  49. เวทีการสื่อสารและขยายผลต่อยอดกิจกรรม
  50. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนมัธยมต้นและมัธยมปลาย 400
บุคลากรโรงเรียนอุดมสาสน์วิทยายะลา 50
แกนนำชุมชน 20
แกนนำโครงการ 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดแกนนำในโรงเรียนที่สามารถขับเคลื่อนงานได้ 1.1 มีโครงสร้างการดำเนินงานเกิดขึ้นในโรงเรียน 1.2 มีข้อมูล แผนการดำเนินงาน 1.3 แกนนำมีทักษะการดำเนินงาน

  2. คนในโรงเรียนเกิดความตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ 2.1 เกิดกติกาและข้อตกลงภายในโรงเรียน 2.2 เกิดการปฏิบัติตามกฎวินัยจราจร 2.3 พฤติกรรมเสี่ยงลดลง ร้อยละ 50 2.4 คนขับรถรับส่งมีพฤติกรรมในการขับขี่ที่ปลอดภัยร้อยละ 80

3 .เกิดกลไกลเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ 3.1 นักเรียน บุคลากร คนขับรถรับส่งนักเรียน และคนในชุมชนรู้ข้อมูลอุบัติเหตุ 3.2 มีข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของนักเรียน บุคลากรและคนในชุมชน ร้อยละ 80 3.3 แกนนำมีการทบทวนแผนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80

  1. คนในโรงเรียนและชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสวมหมวกกันน็อค สภาพแวดล้อมได้รับกาเปลี่ยนแปลง
    4.1 นักเรียน บุคลากรและคนในชุมชนสวมหมวกกันน็อกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 จากประชากรผู้ขับขี่ 4.2 จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข ร้อยละ 50 ของจุดเสี่ยง

5 การเกิดอุบัติเหตุของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและผู้ปกครองในชุมชนลดลง 5.1 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุลดลง ร้อยละ 50 5.2 อัตราการเสียชีวิตและการบาดเจ็บลดลง ร้อยละ 50 5.3 อัตราการเกิดความรุนแรงทางอุบัติเหตุลดลง ร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเปิดบัญชี

วันที่ 29 เมษายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขายะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบัญชี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขายะลา

 

0 0

2. เวทีปฐมนิเทศและจัดทำข้อสัญญาโครงการย่อยฯ ปี 2565

วันที่ 5 พฤษภาคม 2022

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงข้อตกลงในการทำสัญญา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงสัญญาลายมือชื่อในสัญญาข้อตกลง

 

3 0

3. เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯปี 65 ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการเขียนเสนอโครงการ ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อุบัติเหตุลดลง

 

1 0

4. เวทีเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ ปี 2565

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการจัดทำรายงาน และขั้นตอนการบันทึกข้อมูลในระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถบันทึกข้อมูลการทำกิจกรรมในระบบได้อย่างถูกต้อง

 

3 0

5. จัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกแบบป้ายโครงการและนำส่งพิมพ์ไวนิลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายรณค์ลงอุบัติเหตุบนท้องถนนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

 

0 0

6. เก็บรวบรวมข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในนักเรียน บุคลากรและชุมชน

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการร่วมกับตัวแทนชั้นเรียน ขั้นตอนในการเก็บข้อมูล
1.แกนนำโครงการชี้แจงต่อนักเรียนแต่ละชั้นเรียนในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. แกนนำเก็บข้อมูลการสวมใส่หมวกกันน็อคและข้อมูลการโดยสารยานพาหนะ ในตลอดระยะเวลาที่กำหนด 3. นำข้อมูล รวบรวมเข้าโครงการเพื่อดำเนินการในการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอนต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับข้อมูลการสวมใส่หมวกกันน็อค การโดยสารยานพาหนะและอัตรการเกิดอุบัติเหตุ
  2. ปัญหาที่ต้องแก้ไข

 

30 0

7. วิเคราะห์ข้อมูล

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุและจุดเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุและจุดเสี่ยงในโรงเรียนและบริเวณใกล้ๆโรงเรียน

 

30 0

8. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 21 พฤษภาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำโครงการของ Node Yala ในกิจกรรมต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกิจกรรมและแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน และเกิดคณะทำงานที่มีศักยภาพ

 

0 0

9. อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน

วันที่ 14 มิถุนายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการอบรมให้ความรู้แกนนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำโครงการและแกนนำนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการลดอุบัติเหตุและมีการเก็บข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ

 

30 0

10. เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน บุคลการ คนขับรถและผู้ปกครองและคืนข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ

วันที่ 30 มิถุนายน 2022 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กระบวนการการดำเนินการโครงการ 1. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้เข้าร่วม 2. สร้างเวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน บุคลากรและผู้ปกครองและคืนข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ 3. เกิดระบบการดำเนินงานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดข้อตกลง และกติการ่วมกัน
  2. เกิดระบบการดำเนินงานที่เป็นระเบียบ ตามเป้าหมายที่วางไว้
  3. เกิดความเข้าใจระหว่างกัน ในการใช้รถใช้ถนน

 

200 0

11. ประชุมครั้งที่ 1

วันที่ 5 กรกฎาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 1. คัดเลือกคณะทำงาน 2. กำหนดงานแต่ละฝ่าย 3. วางแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ 4. กำหนดวันเวลาในการดำเนินงาน และกำหนดวันที่การดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนกนำโครงการที่มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมตลอดโครงการ
  2. เกิดแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
  3. เกิดวิธีการดำเนินการของแต่ละฝ่ายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

 

30 0

12. พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (สถานที่และข้อมูล)

วันที่ 10 กรกฎาคม 2022 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำป้ายไวนิลกระบวนการและกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ 2. สร้างสื่อแผ่นพับการดำเนินกิจกรรม 3. สร้างสรรค์สื่อวิดีทัศน์ (วิดีโอ รณรงค์ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน และปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ศูนย์การเรียนรู้ที่พร้อมดำเนินการโครงการ
  2. ได้รับความรู้จากสื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน รอบรั้วอุดมศาสน์

 

30 0

13. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 1 (ARE 1 )

วันที่ 11 กรกฎาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน -นักเรียนแกนนำโรงเรียนได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อพัฒนาโครงการ -นักเรียนแกนนำพบปะพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดเวทีแลกเปลี่ยน นักเรียนแกนนำได้ความรู้จากการแนะนำแลกเปลี่ยนความรู้จากพี่เลี้ยงโครงการ แลกเปลี่ยนปัญหาต่างๆ จากเคสที่พบเจอ

 

30 0

14. เวทีพัฒนาศักยภาพ

วันที่ 17 กรกฎาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเตรียมความพร้อมของกลุ่มโครงการย่อยร่วมกับ Node Yala และร่วมกันนำเสนอปัญหาที่พบระหว่างดำเนินการกิจกรรมต่างๆเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา
โดยในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วม ผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะทำงานโครงการจำนวน 4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่ได้รับจากกิจกรรมด้งกล่าวคือ
_ มีแนวทางในการดำเนินกิจกรรมต่อที่ชัดเจน _ มีหนทางในการแก้ไขปัญหา _ พัฒนาศักยภาพแกนนำในการดำเนินกิจกรรมที่มีคุณภาพ

 

0 0

15. อบรมสร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรม สร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่ขับรถนักเรียนมีความรู้และเข้าใจ เจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีความปลอดภัยมากขึ้น

 

40 0

16. พัฒนาวิทยากรกระบวนการประจำศูนย์การเรียนรู็

วันที่ 8 สิงหาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการพัฒนาวิทยากรประจำศูนย์ โดยมีการเชิญวิทยากรที่มีประสบการณ์ในการเป็นวิทยาต้นแบบ เพื่อการถ่ายทอดความรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
และเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและการส่งต่อประสบการณ์ให้แก่ผู้ที่สนใจในประเด็นในการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนรอบรั้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดวิทยากรที่พร้อมเป็นวิทยากรในการส่งต่อความรู้ 2. ได้วิทยากรที่มีประสิทธิภาพ

 

11 0

17. ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน

วันที่ 22 สิงหาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิล ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตั้งป้ายไวนิลจุดรับส่งนักเรียน และอุปกรณ์จราจร

 

30 0

18. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฎข้อบังคับจราจร(อาสาจราจร และสารวัตรนักเรียน คนขับรถรับส่ง)

วันที่ 26 สิงหาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฏข้อบังคับจราจร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฏข้อบังคับจราจร อาสาจราจร สารวัตรนักเรียน และคนขับรถนักเรียนได้รับการอบรมเชิงการปฏิบัติข้อบังคับกฏจราจร

 

30 0

19. ประชุมครั้งที่ 2

วันที่ 3 กันยายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน -ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน -ประชุมหารือเกี่ยวกับการวางแผนการดำเนินงาน ติดตามและคืนข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูพี่เลี้ยงร่วมมือกับนักเรียนแกนนำเพื่อประชุมแต่งตั้งคณะทำงานและวางแผนดำเนินและแจกแจงกิจกรรมตลอดทั้งปี ตลอดจนประชุมวางแผนประชุมติดต้องและทำการคืนข้อมูลให้กับทางศูนย์การเรียนรู้ต่อไป

 

30 0

20. เวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนแต่ละโครงการย่อย นำเสนอ แลกเปลี่ยนความรู้และผลลัพท์ในการดำเนินงานตลอดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินงานและความคืบหน้าของโครงการในการสะท้อนผลลัพท์

 

3 0

21. จัดเวทีความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ(ครู คนขับ นักเรียน ผู้ปกครอง)

วันที่ 18 กันยายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินการ -แกนนำร่วมมือกับบุคคลากรในการจัดเวทีความร่วมมือภาคีปฎิบัติการ -แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับจุดเสี่ยงของ กลุ่มเป้าหมาย -ครู คนขับรถรับส่งนักเรียน นักเรียน และผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดเวทีแลกเปลียนและให้ความรู้ความร่วมมือภาคีปฎิบัติการ ให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยและพึงระวังถึงจุดเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็นในโรงเรียน บริเวณโรงเรียนและระหว่างทางมาโรงเรียน ให้แก่ ครู บุคคลากรขับรถรับส่งนักเรียน นักเรียน และผู้ปกครอง ให้มีการตระหนักให้เฝ้าระวังอุบัติเหตุ

 

30 0

22. สร้างสรรค์สื่อออนไลน์(สื่อหนังสั้น ป้องกันอุบัติเหตุในเยาวชน)

วันที่ 1 ตุลาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินการ -ทีมงานและแกนนำจัดทำโปสเตอร์เพื่อประชาสัมพันธ์การรับสมัคร
-ทีมงานและคณะเปิดรับสมัครนักเรียนที่สนใจส่งคลิปหนังสั้นเข้าประกวด -นักเรียนที่สนใจร่วมกันส่งผลงานหนังสั้นเป็นทีม -คณะกรรมการร่วมกันตัดสิน เพื่อหาทีมที่ชนะ 3 อันดับโดยแบ่งเป็นระดับชั้น มัธยมตอนต้น และมัธยมตอนปลาย -หลังจากได้ทีมชนะแล้วนั้น ทางทีมงานได้เผยแพร่ในสื่อออนไลน์ เพื่อเป็นประโยชน์และเป็นสื่อการสอนแก่ผู้ที่สนใจต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงและตระหนักมากขึ้นหลังจากได้รับชมคลิปหนังสั้น ที่ได้ทั้งความบังเทิงและความรู้ ที่สามารถเข้าถึงเข้าใจได้ง่าย

 

30 0

23. เวทีติดประเมินผล รายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย

วันที่ 22 ตุลาคม 2022 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรายงานผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์และแผนการดำเนินงาน แกนนำจำนวน 3 คน ได้เรียนรู้และทบทวนการคีย์ข้อมูลเกี่ยวกับบันใดผลลัพธ์ การเงิน โดยพี่เลี้ยงได้ตรวจทานและตรวจสอบการเงินก่อนเบิกงบงวดที่ 2 เพื่อจะได้ดำเนินโครงการต่อไป

 

3 0

24. ปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่เสี่ยงหรือชำรุด

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดการดำเนินงานดังนี้ -ทีมงานและแกนนำปรับปรุงซ่อมแซมจุดเสี่ยงในแต่ละจุด
เช่น ติดป้ายเตือนจุดเสี่ยง ซ่อมแซมตะแกรงท่อระบายน้ำ ติดตั้งกระจกโค้งที่จุดเสี่ยง และอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการที่ปรับปรุงซ่อมแซมทำให้อุบัติเหตุจากกจุดเสี่ยงดังกล่าวลดลง บุคคลกรและนักเรียนระมัดระวังมากขึ้น

 

30 0

25. ประชุมครั้งที่ 3

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีการดำเนินงาน ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานและติดตามงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้ทราบถึงลำดับขั้นตอนการดำเนินงานและติดตามวาระงาน

 

30 0

26. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 2 (ARE 2)

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีประเมินผลเพื่่อการพัฒนาการเรียนรู้ ถอดบทเรียนจากกิจกรรมที่ได้ทำแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมเวทีประเมินผลมีความเข้าใจและมีความถึงการแก้ปัญหาเพื่อลดอุบัติเหตุในสถานศึกษา

 

30 0

27. สังเกตการณ์ และบันทึกข้อมูล

วันที่ 1 ธันวาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.บันทึกข้อมูลและนำเสนอข้อมูลแก่โรงเรียนและชุมน 2.บันทึกข้อมูลการสวมหมวกนิรภัยและพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียน บุคลากร คนในชุมชน มีการสวมใส่หมวกกันน๊อค ร้อยละ 80 2.เจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน มีพฤติกรรมที่ดี ขับรถตามกฏของจราจร และมีการตรวจสอบสภาพรถ

 

30 0

28. กิจกรรมรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย

วันที่ 2 ธันวาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ทำป้ายรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย 2.รณรงค์การใส่หมวกกันน๊อกในการขับขี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและบุคลากรมีการใส่หมวกกันน๊อคในการขับขี่ ร้อยละ 80

 

30 0

29. ประชุมครั้งที่ 4

วันที่ 17 มกราคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งสุดท้าย เพื่อวางแผนสรุปกิจกรรมต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีการปรับปรุง ปรับแผน เพื่อสรุปกิจกรรมต่างๆในศูนย์

 

30 0

30. เวทีการสื่อสารและขยายผลต่อยอดกิจกรรม

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสื่อสารและการขยายผลต่อยอดกิจกรรม แก่ครู นักเรียน คนขับรถ ผู้ปกครอง และภาคีเครือข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู นักเรียน คนขับรถ ผู้ปกครอง และภาคีเครือข่าย มีการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นในการขยายผลเพื่อต่อยอดกิจกรรมต่อไป

 

50 0

31. เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3)

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กระบวนการดำเนินการ -แกนนำจัดเวทีประเมินผลเพือการพัฒนาและการเรียนรู้ -นักเรียนแกนนำร่วมมือกับบุคคลกรในโรงเรียนในการประเมินเพื่อพัฒนาโครงการ -นักเรียนแกนนำจัดเวทีแลกเปลี่ยนเพื่อพัฒนาและหารือกับบุคคลกรเกียวกับปัญหาที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนแกนนำได้แลกเปลี่ยนข้อมูลกับบุคคลากรในโรงเรียนเพื่อพัฒนาโครงการ และได้เห็นปัญหาที่ต้องแก้ไขต่อไป

 

30 0

32. กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ

วันที่ 1 มีนาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสรุปรายงาน 1. รวบรวมข้อมูลแต่ละกิจกรรม โดยข้อมูลที่รวบรวมมีดังนี้
- รายละเอียดกิจกรรม - ข้อมูลผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ประมวลภาพกิจกรรม - ประมวลผลกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ

  1. สรุปข้อมูลลงระบบใน happynetwork.com

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการนำมาประมวลผลที่ได้รับ เพื่อการแก้ไขและดำเนินการ่อไป
  • มีผลลัพท์ในการดำเนินการที่ชัดเจน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดคณะทำงานลดอุบัติเหตุในโรงเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีคณะทำงานขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุโดยมีองค์ประกอบตามโครงสร้างการทำงาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีแผนการดำเนินงานของคณะทำงานในการขับเคลือนความร่วมมือและการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีข้อมูลสถานการณ์ลดอุบัติเหตุ ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดศูนย์การเรียนรู้และเกิดความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานตามแผน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 เกิดความร่วมมือของนักเรียน ครู บุคลากร กรรมการ โรงเรียนและผู้ปกครองในการป้องกันอุบัติเหตุอ่างต่อเนื่องต่อไป ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีกติกาในเรื่องของความปลอดภัยของนักเรียนในการเดินทางระหว่างโรงเรียน ชุมชน และที่พักอาศัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 โรงเรียนและผู้ปกครองเกิดข้อตกลงเรื่องการสวมหมวกนิรภัย การขับขี่ปลอดภัยและความปลอดภัยของรถรับส่งนักเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 เกิดแผนความร่วมมือของโรงเรียนกับคนขับรถรับส่งนักเรียนในเรื่องความปลอดภัยระหว่างการรับส่งนักเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 เกิดแผนการจัดการจุดเสี่ยงจากความร่วมมือของคณะทำงานและภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 เกิดศูนย์เรียนรู้ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา
50.00 0.00

 

2 เพื่อให้เกิดกลไกการเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและบริเวรใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 3 เกิดกลไกลเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและเส้นทางไปโรงเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีกลไกเฝ้าระวัง ป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน (อาสาจราจร ,สารวัตนักเรียน) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีกลไกการเฝ้าระวังอุบัติเหตุตามเส้นทางการขับขี่ของนักเรียนและบุคคลากรระหว่างโรงเรียนและที่พักอาศัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 มีการเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุบนรถรับส่งนักเรียนและจุดรับส่งนักเรียน ผลลัพธ์ที่ 4 ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปรับเปลียนสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุนักเรียนและบุคคลากร เส้นทางระหว่างบ้าน และโรงเรียนได้รับการแก้ไขหรือส่งต่อร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 จุดเสี่ยงรอบโรงเรียนได้รับการแก้ไขหรือส่งต่อร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 รถรับส่งนักเรียนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยร้อยละ 95 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนมีการสวมหวมกนิรภัย(หน้าโรงเรียน) ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.5 นักเรียนและบุคคลากรขับขี่อย่างปลอดภัย ร้อยละ 95 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.6 คนขับรถรับส่งนักเรียนมีพฤติกรรมการขับรถปลอดภัย ผลลัพธ์ที่ 5 การเกิดอุบัติเหตุของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและผู้ปกครองในชุมชนลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุของนักเรียนและบุคลากรที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ลดลงร้อยละ 50 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุของนักเรียนที่เดินทางมากับรถรับส่งลดลงร้อยละ 50 5.3 อัตราการเสียชีวิตลดลงร้อยละ 50 5.4 อัตราการเกิดความรุนแรงทางศรีษะลดลงร้อยละ 50
50.00

 

3 3.เพื่อการบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : 3.1 โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนมัธยมต้นและมัธยมปลาย 400 400
บุคลากรโรงเรียนอุดมสาสน์วิทยายะลา 50 50
แกนนำชุมชน 20 20
แกนนำโครงการ 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน (2) เพื่อให้เกิดกลไกการเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและบริเวรใกล้เคียง (3) 3.เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพทีมจัดทำโครงการย่อย (2) กิจกรรมที่ 2 การประชุมคณะทำงาน (3) กิจกรรมที่ 4 เก็บข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (4) ค่าเปิดบัญชี (5) กิจกรรมที่ 15 การจัดการจุดเสี่ยง (6) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้คณะทำงาน (7) กิจกรรมที่ 5 เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและคืนข้อมูล (8) กิจกรรมที่ 6 อบรม สร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน (9) กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (10) กิจกรรมที่ 8 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (ARE 1) (11) กิจกรรมที่ 9 ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน (12) กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ (13) กิจกรรมที่ 10 ความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ (14) กิจกรรมที่ 11 สร้างสื่อออนไลน์ (15) กิจกรรมที่ 12 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (ARE 2) (16) กิจกรรมที่ 14 รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย (17) กิจกรรมที่ 16 สังเกตการณ์และบันทึกข้อมูล (18) กิจกรรมที่ 17 เวทีคืนข้อมูลและเวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3) (19) กิจกรรมที่ 18 เวทีการสื่อสารและการขยายผลต่อยอดกิจกรรม (20) เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯปี 65 ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน (21) เวทีปฐมนิเทศและจัดทำข้อสัญญาโครงการย่อยฯ ปี 2565 (22) เวทีเรียนรู้การจัดทำรรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ ปี 2565 (23) จัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่ (24) กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ (25) เวทีพัฒนาศักยภาพ (26) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (27) เก็บรวบรวมข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในนักเรียน บุคลากรและชุมชน (28) วิเคราะห์ข้อมูล (29) อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน (30) เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน บุคลการ คนขับรถและผู้ปกครองและคืนข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ (31) ประชุมครั้งที่ 1 (32) พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (สถานที่และข้อมูล) (33) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 1 (ARE 1 ) (34) อบรมสร้างความเข้าใจ  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน (35) พัฒนาวิทยากรกระบวนการประจำศูนย์การเรียนรู็ (36) ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน (37) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฎข้อบังคับจราจร(อาสาจราจร และสารวัตรนักเรียน คนขับรถรับส่ง) (38) ประชุมครั้งที่ 2 (39) เวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 1 (40) จัดเวทีความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ(ครู คนขับ นักเรียน ผู้ปกครอง) (41) สร้างสรรค์สื่อออนไลน์(สื่อหนังสั้น ป้องกันอุบัติเหตุในเยาวชน) (42) เวทีติดประเมินผล รายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ (43) ปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่เสี่ยงหรือชำรุด (44) ประชุมครั้งที่ 3 (45) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 2 (ARE 2) (46) กิจกรรมรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย (47) สังเกตการณ์  และบันทึกข้อมูล (48) ประชุมครั้งที่ 4 (49) เวทีการสื่อสารและขยายผลต่อยอดกิจกรรม (50) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา

รหัสโครงการ 65-01-007 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2022 - 31 มีนาคม 2023

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-01-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยามีละห์ กระโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด