การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ สารเสพติด

ประชุมแกนประสาน 14 จังหวัด เครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ด้านการลดปัจจัยเสีี่ยง21 มกราคม 2561
21
มกราคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย เจกะพันธ์ พรหมมงคล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สื่อสารออนไลน์เพื่อรับฟังความคาดหวังและข้อเสนอจากเครือข่าย
  2. จัดทำเอกสารประกอบการประชุม ผลการดำเนินงาน ความคืบหน้าข้อเสนอ แนวทางปี 61
  3. ประสานผู้เข้าร่วมประชุม สถานที่
  4. ลงพื้นที่ที่ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อม
  5. ดำเนินการประชุม
  6. จัดทำสรุปการประชุมและสื่อสารให้ทุกเครือข่าย
  7. ประสานงานเครือข่ายเพื่อดำเนินการตามแผนที่สรุปไว้จากการประชุม
  8. ประสานงานกับพื้นที่ที่จะลงถอดบทเรียน
  9. ประสานนักวิชาการในพื้นที่นั้นๆ เพื่อถอดบทเรียน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดข้อมูลความคืบหน้าข้อเสนอปี 59 และข้อเสนอใหม่ ปี 61
  2. เกิดเป้าหมายร่วมของเครือข่าย คือ • วิสัยทัศน์ : ชุมชน ท้องถิ่น เครือข่าย ในภาคใต้เข้มแข็ง สามารถจัดการระบบสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพเองได้ • เป้าหมาย : ระบบสุขภาพในภาคใต้มีการดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ (เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เพศ/ท้องไม่พร้อม ความรุนแรง อุบัติเหตุ เอดส์ เป็นต้น)
  3. เกิดแนวทางการดำเนินการสู่งานสร้างสุข 61 คือ การถอดบทเรียนพื้นที่ ที่ทำเรื่องปัจจัยเสี่ยงโดยระบบสุขภาพ แล้วพัฒนาเป็นโมเดล เพื่อให้เครือข่ายฯ ทั้ง 14 จังหวัด ได้ศึกษาและประยุกต์ใช้
  4. เกิดบทบาทหน้าที่ของแต่ละส่วน  คือให้เครือข่ายประสานพื้นที่เป้าหมายเพื่อถอดบทเรียน เดือนกุมภาพันธ์ 61 จำนวน 4 พื้นที่
  5. เกิดข้อมูลพื้นที่หรือกรณีศึกษาการลดปัจจัยเสี่ยงโดยระบบสุขภาพ คือ •      ระบบสุขภาพระดับจังหวัด คือสมัชชาสุขภาพ ประเด็น บุหรี่ พื้นที่ลงถอดบทเรียนคือ จ.ตรัง (สมัชชาอยู่ในระดับการขับเคลื่อนคือ ขาเคลื่อน) • ระบบสุขภาพระดับจังหวัด คือแผนพัฒนาจังหวัด กบจ. ประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อเด็กและเยาวชน พื้นที่ลงถอดบทเรียนคือ จ.ระนอง • ระบบสุขภาพระดับ อำเภอ (DHB) ประเด็น เหล้า พื้นที่ลงถอดบทเรียนคือ อ.สวี จ.ชุมพร • ระบบสุขภาพระดับตำบล (กองทุนหลักประกัน,) ประเด็น Aids  ต.ฉลุง อ.เมือง จ.สตูล / (ขอเป็นเอกสาร) • ระบบสุขภาพระดับตำบล (กองทุนหลักประกัน, ธรรมนูญชุมชน) ประเด็น ท้องไม่พร้อม พื้นที่ ต.อูท่าใต้ อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
    • ระบบสุขภาพระดับชุมชน ธรรมนูญชุมชน ประเด็น เด็ก,เยาวชน ,ยาเสพติด พื้นที่ลงถอดบทเรียนคือ ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีฯ
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 22 คน จากที่ตั้งไว้ 24 คน
ประกอบด้วย
  1. นางกัลยา เอี่ยวสกุล เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.ปัตตานี
  2. น.ส.แสงนภา หลีรัตนะ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.ชุมพร
  3. น.ส.นิตยา ดวงสวัสดิ์ กองเลขา
  4. น.ส.พวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขา
  5. น.ส.กมลวรรณ จิตหวัง เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.พังงา
  6. น.ส.วรรณา อ่อนประสงค์ เจ้าหน้าที่มูลนิธิเพื่อนหญิง
  7. น.ส.ลมัย ปังเลมาปุเลา ผู้ติดเชื้อจังหวัดสตูล
  8. นางวิภา พัฒน์ทอง เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.ระนอง
  9. นายสุชีพ พัฒน์ทอง องค์กรงดเหล้า จ.ระนอง
  10. นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนบน
  11. นายสันทฏฐิ อินทร์ด้วง เครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  12. นายณัฐวัฒน์ กิตติธนาชูพันธ์ เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง
  13. น.ส.สรัญญา บุญโสม เครือข่ายสื่อรณรงค์ปลอดบุหรี่
  14. น.ส.ชบา สาจิ เครือข่ายผู้ติดเชื้อ จ.สตูล
  15. นายสุธี สุขยิ่งเจริญ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.ระนอง
  16. นางสนิท สุขยิ่งเจริญ เครือข่ายองค์กรงดเหล้า จ.ระนอง
  17. น.ส.ศศิมาภรณ์ อักษรนำ เครือข่ายแกนนำเยาวชนยิ้มแฉ่งให้ด้วยใจ
  18. นางสุจิตรา ป้านวัน รองปลัด อ.บ.ต. นาไม้ไผ่
  19. นางสุวณี สมาธิ ผู้ประสานงานสมัชชาสุขภาพ จ.ตรัง
  20. นายนิรพงศ์ สุขเมือง เครือข่ายสมาคมคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดปัตตานี
  21. น.ส.สุภาพิมญช์  แพทย์รัตน์ เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง
  22. น.ส.ปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยงจ.นครศรีฯ