directions_run

หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 7 บ้านดอน ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 7 บ้านดอน ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา
ภายใต้โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน เข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ภายใต้องค์กร ศอ.บต. - ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต้
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561
งบประมาณ 400,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวผ่องพรรณแซ่พั่ง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ วิทยากรครูก
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 7 บ้านดอน ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จ.ยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.9256623105519,101.13914446669place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2560 31 มี.ค. 2561 400,000.00
รวมงบประมาณ 400,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฏีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่จะนำไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ (ราคาผลผลิต) โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียร ความอดทน ความสอดคล้องของโครงการกับองค์ความรู้ตามพระราชดำริ ๖ มิติ สอดคล้องกับมิติเกษตรเป็นการส่งเสริมให้เกษตรกรได้ประกอบอาชีพเสริมด้านการปลูกพริกไทย ในพื้นที่ว่างเปล่าขนาดเล็ก ในสวนผลไม้ และในสวนยางพารา เพื่อสร้างรายได้รายสัปดาห์ให้แก่เกษตรกร เกษตรกรในพื้นที่ มีรายได้หลักมาจากประกอบอาชีพการทำสวนยางพารา และสวนผลไม้ ด้วยสภาวะราคายางพารา ที่ลดลงเหลือกิโลกรัมละประมาณ ๔๐ บาท ทำให้เกษตรกรมีรายได้ลดลง สำหรับ ปี ๒๕๕๙ มีพืชชนิดหนึ่ง คือ ทุเรียน กลับมาราคาสูงขึ้น ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละประมาณ ๓๕ บาท ทำให้เกษตรกรที่มีสวนทุเรียน มีรายได้ดีมากเพราะฝนทิ้งช่วงนานผลผลิตทุเรียนติดผลน้อย เกษตรกรจึงขยายพื้นที่การปลูกทุเรียนเพิ่มขึ้น แต่ในอนาคตไม่สามารถคาดคะเนราคาผลผลิตทุเรียนได้ จึงเป็นความเสี่ยงของเกษตรกรชาวสวนทุเรียน หากจะสร้างอาชีพการผลิตพืชเพิ่มเติมเกษตรกรก็มีที่ดินทำการเกษตรจำกัดไม่สามารถเพิ่มได้ จึงต้องหันมาใช้พื้นที่ที่เกษตรกรมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลา จึงเห็นควรส่งเสริมให้เพิ่มอาชีพการปลูกพริกไทย ในพื้นที่ว่างขนาดเล็ก ในสวนผลไม้ และในสวนยางพารา เพื่อสร้างรายได้รายสัปดาห์ให้แก่เกษตรกร เพราะ พริกไทยสามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ที่มีแสงแดด ๕๐ % และต้องการปริมาณน้ำฝน ๑,๒๐๐ - ๒,๕๐๐ มิลลิเมตรต่อปี ซึ่งพื้นที่อำเภอเบตงเป็นพื้นที่ที่มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ตลาดมีความต้องการ และเกษตรกรมีความรู้เรื่องการปลูกพริกไทยจากการศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริระดับอำเภอ ตำบลวังอ่าง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จึงเหมาะสมในการส่งเสริมการปลูกพริกไทยในพื้นที่ว่างเปล่าและพื้นที่สวน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 400,000.00 1 400,000.00
1 ส.ค. 60 - 31 มี.ค. 61 ส่งเสริมอาชีพปลูกพริกไทยดำ(โดยการเสียบยอด) 0 400,000.00 400,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2561 19:22 น.