directions_run

หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

ศอ.บต. - ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต้


“ หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา ”

หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสาการียาบาฮี

ชื่อโครงการ หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2017 ถึง 31 มีนาคม 2018


กิตติกรรมประกาศ

"หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ศอ.บต. - ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2017 - 31 มีนาคม 2018 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 400,000.00 บาท จาก ศอ.บต. - ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 390 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คำนึงการรู้จักพึ่งตนเอง ความพอประมาณพอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆการวางรากฐานการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับทุกคนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กเยาวชนที่จะเป็นอนาคตของชาติ ซึงทางหมู่บ้านได้กำหนดกลยุทธ์การปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจอีกทั้งยางพารามีราคาที่ตกต่ำส่งผลกระทบต่อเกษตรกรเป็นอย่างมากทำให้ชาวบ้านเดือดร้อนเพราะรายได้ไม่เพียงพอโครงการฐานเรียนรู้อาชีพชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยฐานเรียนรู้การ เลี้ยงปลาฐานเรียนรู้การเลียงไก่และฐานเรียนรู้การปลูกผักสวนครัวซึ่งทางหมู่บ้านลือมุมีกลุ่มทั้ง ๓ อยู่แล้วทั้งนี้เพื่อต่อยอดกิจกรรมดังกล่าวเพื่อเป็นฐานเรียนรู้ให้แก่ชุมชนในหมู่บ้านและชุมชนใกล้เคียงเพื่อเป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือนในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการฐานเรียนรู้อาชีพชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการฐานเรียนรู้อาชีพชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วันที่ 31 มีนาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

๑.การประชาคม
จัดมีการขัดเลือกคณะทำงาน นำเสนอโครงการ
ชาวบ้านเลือกโครงการ
๒.นำเสนอโครงการ
เขียนโครงการ
ตรวจสอบ
๓.ดำเนินกิจกรรม จัดซื้อจัดจ้าง
ซื้อพันธ์ปลาดุกอาหาร
ซื้อพันธ์ไก่ อาหาร
ซื้อพันธ์เป็ด
ซื้อพันธ์โค
๔.ประเมิลกิจกรรมโครงการ แบบสอบถาม
คณะกรรมการตรวจสอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑.ประชาชนมีพื้นที่การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์   ๒.ทำให้ประชาชนมีอาชีพและรายได้มั่นคง มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น   ๓.ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจครัวเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน   ๔.มีฐานเรียนรู้อาชีพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 

390 390

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการฐานเรียนรู้อาชีพชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หมู่บ้านเข้มแข็ง ศอบต. หมู่ที่ 3 บ้านลูกา ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสาการียาบาฮี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด