assignment
บันทึกกิจกรรม
โครงการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงเป็ด18 สิงหาคม 2561
18
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย ม.1 บ้านคลองรี ต.ตุยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.วิทยากรครู ก. วิทยากรครู ข. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่ร่วมประชุมสร้างความเข้าใจในการทำแผนพัฒนาหมู่บ้านและจัดทำเวทีประชาคมเพื่อสรุปผลความต้องการของหมู่บ้านตามมติที่ประชุม ๒.วิทยากรครู ก. วิทยากรครู ข. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่จัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ๓. คณะทำงาน ศอ.บต. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในหมู่บ้านร่วมกันติดตามและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) ศอ.บต. สนับสนุนการสร้างความรับรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านให้แก่ข้าราชการ (วิทยากรครู ก.) ผู้นำจิตอาสา (วิทยากรครู ข.) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) และให้ประชาชนในหมู่บ้าร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ๑ แผน ผลลัพธ์ (Outcome) หมู่บ้านมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมถึงเข้ามามีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานนโยบายของภาครัฐในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. ผลกระทบ (Impact) ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจ มีความเชื่อมั่นรัฐ และหันมาสนับสนุนแนวทางภาครัฐส่งผลให้เหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ลดลง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 255 คน จากที่ตั้งไว้ 255 คน
ประกอบด้วย

หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี ตำบลตุยง อำหนองจิก จังหวัดปัตตานี

โครงการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงไก่ไข่17 สิงหาคม 2561
17
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย ม.1 บ้านคลองรี ต.ตุยง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.วิทยากรครู ก. วิทยากรครู ข. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่ร่วมประชุมสร้างความเข้าใจในการทำแผนพัฒนาหมู่บ้านและจัดทำเวทีประชาคมเพื่อสรุปผลความต้องการของหมู่บ้านตามมติที่ประชุม ๒.วิทยากรครู ก. วิทยากรครู ข. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่จัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ๓. คณะทำงาน ศอ.บต. คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชนในหมู่บ้านร่วมกันติดตามและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) ศอ.บต. สนับสนุนการสร้างความรับรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านให้แก่ข้าราชการ (วิทยากรครู ก.) ผู้นำจิตอาสา (วิทยากรครู ข.) คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) และให้ประชาชนในหมู่บ้าร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ๑ แผน ผลลัพธ์ (Outcome) หมู่บ้านมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมถึงเข้ามามีส่วนร่วมขับเคลื่อนงานนโยบายของภาครัฐในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. ผลกระทบ (Impact) ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจ มีความเชื่อมั่นรัฐ และหันมาสนับสนุนแนวทางภาครัฐส่งผลให้เหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ลดลง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 45 คน จากที่ตั้งไว้ 45 คน
ประกอบด้วย

ให้หมู่บ้านมีความเข้มแข็งมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของภาครัฐและมีแผนพัฒนาหมู่บ้าน