Node Flagship

task_alt

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลลำใหม่

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลลำใหม่

ชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 63001750003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน กันยายน 2563 ถึงเดือน ธันวาคม 2563

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีติดตามเพือการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 14 กันยายน 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลการปฎิบัติงานกิจกรรมทีผ่านมาครบตามแผนทีต้งไว้ในบันไดผลลัพธ์
กิจกรรมทีดำเนินการสอดคล้องตามแผนตัวชี้วัดผลลัพธ์ มีหลักฐานและบันทึกรายงานผลเป็นทีประจัก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ทำเวทีติดตามเพือการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1
จัดประชุม ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ และตัวแทนสมาชิกเข้าร่วมโครงการ รายงานผลการปฎิบัติงานกิจกรรมทีดำเนินการผ่านมาแล้ว ทำการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ร่วมแลกเปลียนเรียนรู้ซักถามปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข้ปัญหาการดำเนินงาน

 

20 0

2. กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ของหน่วยงานจัดการระดับจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1

วันที่ 24 ตุลาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมเกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจในประเด็นยุทธศาสตร์มากขึ้น มีการ่่ทบทวนผลลัพธ์โครงการเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับผลงานของแต่ละกลุ่มสามารถนำกลับไปใช้เพื่อการปรับปรุงแผนโครงการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เป้าหมาย มีการปรับแผนการดำเนินงานให้ทันกับสถานการณ์และเวลาที่กำหนด เกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการรายงานผลในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีการจัดเวทีการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามประเด็นยุทธศาสคร์
มีการทบทวนผลลัพธ์ของโครงการย่อย นำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการรายงานผลการดำเนินงานโดยการคีย์รายงานเข้าระบบ

 

4 0

3. Node Flasing ภาคีเครือข่ายจังหวัด

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รายงานผลการปฎิบัติงานให้หน่วยงานภาคีรับทราบการดำเนินงานทีผ่านมา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมชี้แจงรายงานผลการปฎิบัติงาน

 

2 0

4. กิจกรรมที่5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง

วันที่ 3 ธันวาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกทีเข่าร่วมโครงการได้ลงมื้อปฏิบัติตามทีได้อบรมมา
สมาชิกแต่ละครัวเรือนได้รับเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์การเกษตร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สมาชิกทีเข้าร่วมโครงการได้ลงพื้นทีแปลงปลูก ทำการเตรียมดินแปลงสำหรับปลูกของแต่คน

 

100 0

5. กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่มให้ความรู้ รณรงค์และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ธันวาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกได้รับความรู้และสนใจการปลูกผักปลอดสารพิษ นำความรู้ทีได้มาลงปฏิบัติ คณะทำงานให้ความร่วมมือ คณะทำงานเข้าใจในการทำงานร่วมกันมากขึ้น คณะทำงานทราบถึงการประเมินที่ผ่านมา คณะทำงานและความรู้ความเข้าใจในเรื่องของผักและปุ๋ยหมักมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมให้ความรู้กับสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม การทำปุ่ยหมัก น้ำหมักและน้ำยาไล่แมลง การเตรียมดิน และการให้ปุ๋ย

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 35 0                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่3 ( 23 ม.ค. 2564 )
  2. ประชุมครั้งที่3 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาทีพบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นและอื่นๆ ( 6 ก.พ. 2564 )
  3. กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่4 ( 20 ก.พ. 2564 )
  4. กิจกรรมที่ 2 ครั้งที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ในแต่ละครัวเรือน เพื่อเปรียบเที่ยบกับข้อมูลเริ่มโครงการและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมคืนข้อมูล ( 6 มี.ค. 2564 )
  5. ประชุมครั้งที่4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และหารือถึงการทำงานนี้ต่อเมื่อจบโครงการที่ สสส.สนับสนุน ( 20 มี.ค. 2564 )
  6. เวทีถอดบทเรียน Noode Flasing ( 24 มี.ค. 2564 )
  7. เวทีถอดบทเรียนAREรอบ3พีเลี้ยง ( 12 เม.ย. 2564 )
  8. กิจกรรมที่ 1 รับสมัครทีมงาน และคัดเลือกทีมงาน ( 25 เม.ย. 2564 )
  9. กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครใจเข้าร่วม ( 25 เม.ย. 2564 )
  10. กิจกรรมที่ 3 หาข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคตลาดในพื้นที่ ( 25 เม.ย. 2564 )
  11. กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่ม ให้ความรู้ รณรงค์ และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ( 25 เม.ย. 2564 )
  12. กิจกรรมที่ 5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่ม บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ( 25 เม.ย. 2564 )
  13. กิจกรรมที่ 6 นำสินค้ามาจำหน่ายในชุมชน ( 25 เม.ย. 2564 )
  14. กิจกรรมที่ 7 การติดตามผลและ สำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ( 25 เม.ย. 2564 )
  15. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพที่จัดโดย Node Flagship ยะลา ( 25 เม.ย. 2564 )

(................................)
นายอิสมาแอล ลาเต๊ะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ