Node Flagship

directions_run

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลลำใหม่

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 ได้ดำเนินการทุกกิจกรรมตามแผนทีได้กำหนดไว้ 2.สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการได้ปฏิบัติตามข้อตกลงทีกำหนดไว้ 3.สมาชิกได้บริโภคผักปลอดภัยและได้รายได้เพิ่มจากการขายผัก 4.สมาชิกได้บริโภคผักปลอดภัยและสามารถลดร่ายจ่ายในครัวเรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักและบริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 ครัวเรือนเป้าหมายรวมตัวเป็นกลุ่มหรือชมรมผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 ครัวเรือนมีการรวมกลุ่มเพื่อจัดการข้อมูลและวางแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีข้อมูลเกี่ยวกับแปลงปลูก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีการติดตาม ผลลัพธ์ที่ 2 ครัวเรือนเป้าหมายสามารถปลูกผักและบริโภคผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 ครัวเรือนมีทักษะสามารถผลิตผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 ครัวเรือนนำความรู้นำผักปลอดภัยไปใช้ในแปลงอย่างน้อยร้อยละ30%
80.00 0.00

สมาชิกในครัวเรือนทีเข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติจริง

2 เพื่อเป็นต้นแบบในการปลูกผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 3 มีตลาดผักปลอดภัยรับผลผลิตจากครัวเรือนเป้าหมาย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีตราสัญลักษ์ของผลิตภัณฑ์ผักปลอดภัยที่ดีรับรองตามมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 หน่วยงานราชการโรงพยาบาลในจังหวัดใช้ผักปลอดภัยจากพื้นที่โครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 มีตลาดสินค้าเกษตรเกิดใหม่ไม่น้อยกว่า 4 แห่ง ผลลัพธ์ที่ 4 ครัวเรือนเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 ประชาชนเข้าถึงและบริโภคผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 เกิดแปลงปลูกต้นแบบ
80.00 1.00

เกิดแปลงต้นแบบทีสามารถผลิตสินค้าและจำหน่ายในตลาดชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนในชุมชนตำบลลำใหม่ 10 10
ครัวเรือนในชุมชนบ้านลูกา 50 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักและบริโภคผักปลอดภัย (2) เพื่อเป็นต้นแบบในการปลูกผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีติดตามเพือการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 (2) เวทีถอดบทเรียนAREรอบ3พีเลี้ยง (3) กิจกรรมที่ 1 รับสมัครทีมงาน และคัดเลือกทีมงาน (4) กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครใจเข้าร่วม (5) กิจกรรมที่ 3 หาข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคตลาดในพื้นที่ (6) กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่ม ให้ความรู้ รณรงค์ และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค (7) กิจกรรมที่ 5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่ม บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (8) กิจกรรมที่ 6 นำสินค้ามาจำหน่ายในชุมชน (9) กิจกรรมที่ 7 การติดตามผลและ สำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ (10) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพที่จัดโดย Node Flagship ยะลา (11) จัดทำไวนิลโครงการ (12) กิจกรรมที่1.ประชุมเพื่อจัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ ประกอบด้วยตัวแทนจากกรรมการหมู่บ้าน ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที่เห็นชอบร่วมกัน (13) ประชุมครั้งที่2 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมถึงรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละเรือน (14) เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการ (15) ประชุมครั้งที่3 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาทีพบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นและอื่นๆ (16) ประชุมครั้งที่4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และหารือถึงการทำงานนี้ต่อเมื่อจบโครงการที่ สสส.สนับสนุน (17) กิจกรรมที่2 ครั้งที่1.คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกผักการบริโภคผักและการใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน (18) กิจกรรมที่ 2 ครั้งที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ในแต่ละครัวเรือน เพื่อเปรียบเที่ยบกับข้อมูลเริ่มโครงการและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมคืนข้อมูล (19) กิจกรรมที่ 3 ครั้งที่ 1 ดำเนินการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา (20) กิจกรรมที่ 3 ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลพื้นฐานในการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา (21) กิจกรรมที4 รวมกลุ่ม ให้ความรู้รณรงค์และกระตุ้นให้มีการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมีและตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ครั้งที่ 1 (22) กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่มให้ความรู้ รณรงค์และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ครั้งที่ 2 (23) กิจกรรมที่5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (24) กิจกรรมที่6 นำสินค้าจำหน่ายในชุมชน ดำเนินการนำสินค้าจำหน่ายในชุมชน ตามตลาดในพื้นที่ (25) กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่1 (26) กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่2 (27) กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่3 (28) กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่4 (29) ประชุมขับเคลื่อนหน่วยจัดการระดับจังหวัด (30) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการย่อย (31) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (32) ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (33) กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ของหน่วยงานจัดการระดับจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 (34) Node Flasing ภาคีเครือข่ายจังหวัด (35) เวทีถอดบทเรียน Noode Flasing   ทางผู้รับผิดชอบโครงการขอขอบคุณ เกษตรจังหวัดยะลา เกษตรอำเภอเมืองยะลา องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส). Node จังหวัดยะลา เลี้ยง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh