Node Flagship

directions_run

ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในด้านเกษตรปลอดภัยครบวงจร
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1.1 เกษตรกรในกลุ่มจือนือรงดาแล มีการจัดประชุมทุก 2 เดือน และประชุมพร้อมหน่วยงาน 3 เดือนครั้ง จัดตั้งคณะทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1.2 เกษตรกรในกลุ่มจือนือรงดาแล มีทักษะสามารถผลิตผักปลอดภัยตามแผนการจัดการของกลุ่ม นำความรู้ในการปลูกผักปลอดภัยไปใช้ในกลุ่ม อย่างน้อย ร้อยละ 80 โดยทางกลุ่มมีเกณฑ์การประเมิน การปลูกผักปลอดภัยของสมาชิกในกลุ่ม
0.00

 

2 เพื่อสร้างมาตรฐานรับรองผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง ขยายช่องทางการตลาด และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 2.1 กลุ่มจือนือรงดาแล มีตราสัญลักษณ์นับรองผลผลิต ตามมาตรฐาน PGS หรือ GAP ตัวชี้วัดที่ 2.2 โรงเรียนบ้านโฉลง และหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่ มีการใช้ผักปลอดภัยจากกลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 2.3 พื้นที่ ม.1 ต.ปุโรง ขยายพื้นที่ปลูกผัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในด้านเกษตรปลอดภัยครบวงจร (2) เพื่อสร้างมาตรฐานรับรองผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง ขยายช่องทางการตลาด และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มและจัดตั้งคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานระดับตำบล อำเภอ จังหวัด (2) กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการกำจัดศัตรูพืช (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมและพัฒนาผักปลอดภัยให้ได้มาตรฐาน PGS  /GAP (5) กิจกรรมที่ 5 ประชุมร่วมกับหน่วยจัดการ (6) อบรมให้ความรู้และทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์ (7) สรุปโครงการ (8) ประชุมขับเคลื่อน หน่อยงานจัดการระดับจังหวัด (9) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการย่อย (10) ป้ายไวนิลโครงการและโฟมบอร์ด สสส. (11) อบรมทำปุ๋ย (12) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแล ครั้งที่ 1 (13) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (14) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (15) สำรวจแปลงเพื่อจัดทำข้อมูลพื้นฐาน (16) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 2 (17) เวทีทบทวนบันไดผลลักธ์และออกแบบเก็บข้อมูลโครงการย่อย (18) พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย (19) เวทีพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (20) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (21) อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการเตรียมดิน (22) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 3 (23) เวทีพัฒนาศักยภาพการรวมรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (24) เวทีสมัชชา (25) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (26) ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานPGS (27) เวทีถอดบทเรียน3 (28) ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานGAP (29) สำรวจแปลงและติดตามแปลงครั้งที่ 2 (30) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 4 (31) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (32) ประชุมสมาชิกลุ่มจือนือรงดาแลครั้งที่ 4 (33) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (34) เวทีสังคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh