Node Flagship

task_alt

พัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ตลาดเก่า อ.เมืองยะลา

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ พัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ตลาดเก่า อ.เมืองยะลา

ชุมชน ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 63001750011 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2563 ถึงเดือน สิงหาคม 2563

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการ

วันที่ 3 มิถุนายน 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แกนนำโครงการย้อย ทั้งหมดจำนวน 27 โครงการ เข้าร่วมกิจกรรม แกนนำโครงการย้อยฯเข้าใจหลักการ และเป้าหมายของโครงการไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงเข้าใจแนวทางการดำเนินงานและดำเนินการตามสัญญาโครงการฝ่ายการเงินได้อธิบายหลักการให้เหรัญญิกทราบและแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามงวดงาน อย่างชัดเจน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สำนักสร้างสรรค์โอกาส สำนัก6 สำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยหน่วยจัดการจังหวัดระดับจุดเน้นสำคัญจังหวัดยะลาร่วมกับภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ได้กำหนดจัดกิจกรรม เวทีปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย้อย ในวันที 3มิถุนายน 2563 เวลา 9.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมราชาวดี ตึกศรีฟ้า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยได้รับเกี่ยรติจาก นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยะลา(นพ.สงกรานต์ ไหมชุม) มอบหมายให้ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยะลา(นายสุชาติ อนันตะ)ร่วมเวทีปฐมนิเทศแทน

 

3 0

2. ประชุมคลี่โครงการ

วันที่ 5 กรกฎาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลการจัดเวทีวันนี้ทำให้คณะทำงาน ได้เข้าใจกิจกรรมโครงการ  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ  กำหนดแผน  การร่วมกันขับเคลื่อนงานต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมกิจกรรมประชุมคลี่โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม เขตตลาดเก่า อ.เมือง จ.ยะลา แก่คณะทำงาน 15 คน ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 เทศบาลนครยะลา (คลินิกแพทย์แผนไทย  ตลาดเก่า)

 

15 0

3. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถเพิ่มกิจรรมได้ ได้ฝึกการคีย์ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดในการทำกิจกรรมต่างๆที่ผ่านมาอย่างถูกต้อง ตามแผนกิจกรรมตามโครงการ และสามารถลงงบประมาณค่าใช้จ่ายและแนบรูปถ่ายภาพกิจกรรม และเอกสารประกอบการเบิกจ่ายและเอกสารสำคัญอื่นๆได้อย่างถูต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ฝึกการใช้โปรแกรม รายงานผล -เพิ่มกิจกรรม -บันทึกกิจกรรม

 

2 0

4. เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และเก็บข้อมูลของโครงการ

วันที่ 15 สิงหาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการอบรมในหัวข้อหลักการ"บันไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการย่อย" ได้มีการแบ่งกลุ่มโครงการย่อยเพื่อทบทวนบันไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการย่อยเพื่อนำข้อมูลต่างๆในแต่ละกิจกรรมของโครงการย่อยมาออกแบบการเก็บข้อมูลที่มีอยู่เพื่อตอบโจทย์ของผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

นายประพันธ์ สีสุข กล่าวเปิดพิธีในเวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการ และชี้แจงวัตถุประสงค์/เป้าหมายของกิจกรรม โดยมีอาจารย์สุวิทย์ หมาดอะดำเป็นผู้ชี้แจงหลักการในหัวข้อเรื่องบันไดผลลัพธ์ของโครงการย่อยและเชิงประเด็น และนายรุมลาม สาร๊ะชี้แจงเพิ่มเติมในประเด็นสำคัญของรายละเอียดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น โดยมีการแบ่งกลุ่มโครงการย่อยและมีการออกแบบการเก็บข้อมูลเพื่อตอบผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

 

1 0

5. ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

วันที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ พิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นที่ง่าย โดยแต่ละกลุ่มโครงการย่อยได้มีการนำเสนอรายละเอียดแต่ละกิจกรรมที่มีการดำเนินการในชุมชน จัดตั้งดณะทำงาน15 คนได้แบ่งงานแต่ละฝ่ายรับผิดชอบ ให้อสม.และเยาวชนจัดตั้งกลุ่ม5กลุ่มๆละ 12 คนลงสำรวจข้อมูลครัวเรือนในชุมชน หาจุดเสียงและจุดเกิดอุบัติเหตุบอยๆและนำเสนอคืนข้อมูลให้ชุมชน เพือหามาตการและแก้ปัญหา ให้เครือข่ายทีมาประชุมในวันนั้นฟัง มีหัวหน้าจราจรแนะนำแนวทางและวิธีการเพื่อลดอุบัติเหตุบนท้องถนน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สำนักสร้างสรรค์โอกาส (สำนัก 6 ) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยหน่วยจัดการจังหวัดระดัที่มีจุดเน้นสำคัญ (Node Flagship) จังหวัดยะลา ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ได้กำหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ เพื่อพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด 2 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนแลประเด็นผักปลอดสารเคมี เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นทีง่าย ใช้ได้จริงและเป็นที่ยอมรับของหน่อยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีตัวแทนจากผู้ว่าราชการจังหวัด นายนิมะ มะกาเจ ซึ่งรับหน้าที่เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ พิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

 

1 0

6. เวทีประชาคม

วันที่ 29 สิงหาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มที่ 1 จุดกลับรถหน้าโรงเรียนธรรมฯ แก่นนำ นายนิเซะ  เจะอูมา 1.ให้ทำจุดกลับรถหน้าซอยศรีปุตราพร้อมสัญญาณไฟจราจรและปิดที่กลับรถหน้าโรงเรียน 2.จ้ดระเบียบใหม่ การจดรถรับส่งนักเรียน 3.ให้รถรับนักเรียนจอดรับประตู่ด้านหลังโรงเรียน ที่สนามมิ่งเมือง 4.ให้รถจอดส่งนักเรียนที่สะพานลอยหน้าซอยปราณี เพือให้เด็กขึ้นสะพาน 5.คืนทางเดินให้นักเรียน ผู้ประกอบการตั้งของบนฟุตบาท 6.ทำรั่วเหล็กบนเกาะกลางประมาณ 200 เมตร 7.ให้ตำรวจจราจรมารับผิดชอบร่วมกับอาสาจราจรนักเรียน กลุ่มที่ 2 สีแยกไฟแดง ซอย 1 ร.ต.ท.ยืนยง  ดุลยเสรี 1. สร้างจิตสำนึก (ประชาสัมพันธ์ ) 2. ให้ความรู้เกียวกับกฎหมายจราจร 3. ต้องเพิ่มมาตรการเด็ดขาด ( ใช้กฎหมาย ) กลุ่มที่ 3 จุดกลับรถหน้าโรงอิฐน่ำฮั่วจั่น นางรอสเมาะห์  บาเหะ 1. อยากให้เจ้าหน้าทีมาตรวจดูแลให้จอดรถเป็นระเบียบ 2. อยากให้เจ้าหน้าที่มาดูแลบางครั้งและปิดที่จุดกลับรถ 3. สร้างจิตสำนึกในแต่ละคน เริมจากบุคคลในครอบครัว กลุ่มที่ 4 หน้ามัสยิดกลาง น.ส.สิริวรรณ  นุ็ยอาภา (เจ้าหน้าที่ ศสม.) 1. เจาะเกาะกลางถนนตรงประตู่ใหญ่หน้ามัสยิดและติดไฟเดินข้ามถนน 2. ควรมีการจัดระเบียบ โดยผู้ค้าขายขึ้นบนทางเท้า 3. ต้องทำเครืองหมายจราจร สีขาวแดงให้ชัดเจน 4. ให้ไปกลับรถที่หน้าคลีนิกทันตแพทย์กอเดร์ 5. พ่อค้าส่งของแล้วไปจอดรถรอในซอย กลุมที่ 5 แยกสถานีรถไฟ (สามแยกวิฑูรอุทิศ 1 )น.ส.พาดีละ๊  โตะสะโต 1. ให้ทำเครืองหมายจอดรถเพียงข้างเดียว 2. หยุดโทร ก่อนออกเดินทาง (ห้ามรับโทรศัพท์ในขณะขับรถ ) 3. ติดตั้งป้ายเตือนจราจร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ชุมชนจารูนอกจัดเวทีประชาคมตำบลต้นแบบแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนชุมชนตลาดเก่าโดยได้รับเกียรติจากผอ.โรงเรียนเทศบาล 5บ้านตลาดเก่ามาเป็นประธานเปิดเวทีประชาคม โดยคืนข้อมูลให้ประชาชนทราบสรุปจุดเสี่ยง ปี2563 รายไตรมาสทั้งหมด 129 ราย จุดเสี่ยงอุบัติเหตุ 5 จุดอันดับที่1.จุดกลับรถหน้าโรงเรียนธรรมฯ 2.สีแยกไฟแดงซอย 1 3. จุดกลับรถหน้าโรงอิฐน่ำฮั่วจั่น 4. สามแยกวิฑูรอุทิศ 1 5. จุดกลับรถหน้ามัสยิดกลาง ชี้จุดแผนที่ในกระดาษ/ พฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมเสี่ยง พฤติกรรมสวมหมวกกันน็อก ตามขัอมูลทีแกนนำลงสำรวจ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 23 6                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 95,690.00 27,623.00                  
คุณภาพกิจกรรม 24                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมติดตามงาน ( 6 ก.ย. 2563 )
  2. เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 ( 24 ต.ค. 2563 - 25 ต.ค. 2563 )
  3. อบรมการสร้างสื่อดิจิทัลทางสมาร์ทโฟน ( 15 พ.ย. 2563 )
  4. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพทธ์ของโครงการย่อย ( 27 พ.ย. 2563 )

(................................)
นายนิมัน อำดุลวาดุง
ผู้รับผิดชอบโครงการ