Node Flagship

directions_run

พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน ”

ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นส.ยาสณี หะยีลาเต๊ะ

ชื่อโครงการ พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน

ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน



บทคัดย่อ

โครงการ " พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-00175-0009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 103,800.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ มีประชากร ทั้งสิ้น 4,594 คน มีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2 บางส่วน หมู่ที่ 3 – หมู่ที่ 5 ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ในพื้นที่กายูบอเกาะมีการเกิดอุบัติเหตุทางถนนโดยมีสถิติผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุย้อนหลังที่เพิ่มสูงขึ้นในระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2560-2562 ดังนี้
ปี 2560 ยอดผู้เสียชีวิต เป็น 0 ราย บาดเจ็บ 47 ราย ปี 2561 ยอดผู้เสียชีวิต เป็น 2 ราย บาดเจ็บ 43 ราย ปี 2562 ยอดผู้เสียชีวิต เป็น 3 ราย บาดเจ็บ 53 ราย (ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรามัน) ถือเป็นสาเหตุสำคัญในลำดับต้นๆของการบาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ และอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดในพื้นที่เสี่ยง ที่สามารถรวบรวมได้ จำนวน 7 จุดเสี่ยง จัดลำดับได้ดังนี้ หมู่ที่ 3 จำนวน 3 จุด, หมู่ที่ 4 จำนวน 2 จุดและหมู่ที่ 2 จำนวน 1 จุด ให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาตัวทั้งผู้ขับขี่และคู่กรณี ในแง่ทางสังคมเกิดข้อพิพาทและต้องหาคนกลางมาช่วยไกล่เกลี่ย และด้านสุขภาพ หากเกิดการบาดเจ็บไปถึงขั้นพิการจะเป็นภาระให้ครอบครัวต้องดูแล ซึ่งรัฐบาลต้องใช้งบประมาณในการเยียวยาและแก้ปัญหา ในแต่ละปีจำนวนอุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน อาทิ ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ พบว่าไม่มีความรู้เรื่องกฎหมายจราจร ไม่เคารพกฎจราจร เป็นต้น ในส่วนของปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ พบว่า รถที่ใช้ในพื้นที่มักไม่มีการต่อทะเบียนภาษี เนื่องจากสภาพรถไม่สามารถต่อทะเบียนได้(รถเก่ามาก) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อมพบว่าท้องถนนในพื้นที่ที่เป็นจุดเสี่ยงมีสภาพเป็นหลุมบ่อรวมถึงไม่มีป้ายสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง และปัจจัยด้านบริหารจัดการ (ระบบ/กลไก) ผู้นำชุมชนยังไม่ให้ความสำคัญในประเด็นอุบัติเหตุทางถนนเท่าที่ควร เพื่อลดจำนวนอุบัติเหตุทางถนน, จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตลงให้มากที่สุด องค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ถือเป็นอำนาจหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการป้องกันและบรรเทาอุบัติภัยต่างๆ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและสร้างระบบกลไกจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ เพื่อให้สามารถลดปัญหาอุบัติเหตุทางถนนอย่างยั่งยืน ทั้งนี้จึงได้จัดทำ “โครงการพลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน” เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้ขับขี่และยานพาหนะ สร้างการรับรู้ของคนในชุมชน รวมทั้งรณรงค์เพื่อกระตุ้นเตือนประชาชนในท้องถิ่นให้เกิดจิตสำนึก มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการป้องกันและลดอุบัติเหตุบนท้องถนนซึ่งน่าจะเป็นทางเลือกใหม่ที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกลไกการลดอุบัติเหตุทางถนน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่)
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน
  3. เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการลดอุบัติเหตุตำบลกายูบอเกาะ
  2. ประชุมประชาคมเพื่อกำหนดข้อตกลงร่วมกัน
  3. อบรมปรับให้ความรู้เรื่องกับขับขี่ปลอดภัย พร้อมสร้างเครือข่ายจิตอาสาเฝ้าระวังลดอุบัติเหตุทุหมู่บ้าน
  4. สานพลังชุมชนซ่อมแซมผิวถนนในหมู่บ้าน จัดทำป้าย/สื่อรณรงค์เรื่องวินัยจราจร/สร้างการรับรู้
  5. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่ม (ค่าป้ายโครงการ/ค่าทำรายงาน/ค่าที่พัก/ค่าเดินทาง)
  6. ถอดบทรียนสู่สังคม
  7. ฝึกอบรมเวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ
  8. ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่1
  9. ประชุมกำหนดข้อตกลงร่วมกัน (ประชาคม)
  10. ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่2
  11. อบรมให้ความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัย พร้อมสร้างเครือข่ายจิตอาสาเฝ้าระวังอุบัติเหตุร่วมกันทุกหมู่บ้าน
  12. ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่3
  13. กิจกรรมสานพลังชุมชนซ่อมแซมผิวถนนในหมู่บ้านและติดตั้งป้ายรณรงค์ตามจุดเสี่ยง
  14. ประชุมผู้ประกอบการร้านค้ารับซื้อขี้ยาง
  15. กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา
  16. ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่4
  17. จัดเวทีถอดบทเรียนสู่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ประชาชนในพื้นที่ 2,000
ุ้ผู้ขับขี่ยานพาหนะ 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฝึกอบรมเวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฝึกการใช้งานโปรแกรมรายงานผล -เพิ่มกิจกรรม -บันทึกกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. รับรู้วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลลัพธ์ของกิจกรรม
  2. รับทราบ หลักการ ผลผลิตและผลลัพธ์
  3. รับทราบขั้นตอนการรายงานผล การดำเนินงานของโครงการย่อย
  4. สามารถคีย์ข้อมูลกิจกรรมและการรายงานผลการดำเนินงานของโครงการย่อย -เพิ่มกิจกรรม 9 กิจกรรม -บันทึกกิจกรรม 1 กิจกรรม

 

2 0

2. กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

วันที่ 25 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดองค์ความรู้ที่จะนำมาพัฒนาโครงการให้สามารถดำเนินการตามขั้นตอนบันไดผลลัพธ์ ให้สามารถเป็นไปตามวัตถุประสงค์

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกลไกการลดอุบัติเหตุทางถนน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่)
ตัวชี้วัด : 1.1มีข้อมูล มีแผนดำเนินงานที่ถูกต้องครบถ้วน 1.2 เกิดข้อตกลงและกติการ่วมกันระหว่างชุมชนและ ศปถ.ตำบล
0.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของประชาชนมีความรู้ในการขับขี่ปลอดภัย
1400.00

 

3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของถนนที่เป็นหลุมเป็นบ่อตามบัญชีจุดเสี่ยงได้รับการปรับปรุงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ร้อยละ 60 ของผู้ประกอบการสามารถจัดการระบบการขนส่งน้ำยาง ร้อยละ 60 ของจุดเสี่ยงตามบัญชีจุดเสี่ยงได้รับการปรับปรุงแก้ไข
4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนในพื้นที่ 2,000
ุ้ผู้ขับขี่ยานพาหนะ 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกลไกการลดอุบัติเหตุทางถนน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่) (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ใช้ถนน (3) เพื่อปรับสภาพแวดล้อม(จุดเสี่ยงในพื้นที่)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการลดอุบัติเหตุตำบลกายูบอเกาะ (2) ประชุมประชาคมเพื่อกำหนดข้อตกลงร่วมกัน (3) อบรมปรับให้ความรู้เรื่องกับขับขี่ปลอดภัย พร้อมสร้างเครือข่ายจิตอาสาเฝ้าระวังลดอุบัติเหตุทุหมู่บ้าน (4) สานพลังชุมชนซ่อมแซมผิวถนนในหมู่บ้าน จัดทำป้าย/สื่อรณรงค์เรื่องวินัยจราจร/สร้างการรับรู้ (5) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่ม (ค่าป้ายโครงการ/ค่าทำรายงาน/ค่าที่พัก/ค่าเดินทาง) (6) ถอดบทรียนสู่สังคม (7) ฝึกอบรมเวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ (8) ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่1 (9) ประชุมกำหนดข้อตกลงร่วมกัน (ประชาคม) (10) ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่2 (11) อบรมให้ความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัย พร้อมสร้างเครือข่ายจิตอาสาเฝ้าระวังอุบัติเหตุร่วมกันทุกหมู่บ้าน (12) ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่3 (13) กิจกรรมสานพลังชุมชนซ่อมแซมผิวถนนในหมู่บ้านและติดตั้งป้ายรณรงค์ตามจุดเสี่ยง (14) ประชุมผู้ประกอบการร้านค้ารับซื้อขี้ยาง (15) กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (16) ชี้แจงคณะกรรมการทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่4 (17) จัดเวทีถอดบทเรียนสู่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พลังชุมชนกายูบอเกาะร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นส.ยาสณี หะยีลาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด