Node Flagship

directions_run

การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง ”

ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายซัมซุดีน โดซอมิ

ชื่อโครงการ การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง

ที่อยู่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-00175-0004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ
  2. จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์
  3. จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน
  4. กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจชุมชนและจัดทำแผนที่ชุมชน
  5. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย
  6. กิจกรรมที่ 4 การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย
  7. กิจกรรมที่ 5 การสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ
  8. กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน
  9. กิจกรรมที่ 7 ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป
  10. พัฒนาศักยภาพที่จัดโดย Node Flagship yala
  11. เวทีปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย่อย
  12. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย
  13. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (จัดตั้งคณะทำงานโครงการ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน)
  14. เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย
  15. ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์
  16. คณะทำงานสำรวจชุมชนและจัดทำแผนที่ชุมชน
  17. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย
  18. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1)
  19. การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย
  20. การสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ
  21. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย
  22. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2)
  23. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน
  24. ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
  25. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ
  26. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ)
  27. เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อยฯ ระดับหน่วยจัดการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย่อย

วันที่ 3 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย่อย ในวันที่ 3 มิถุนายน 2563 เวลา 09.00-16.30 น.
ณ ห้องประชุมราชาวดี ตึกศรีฟ้า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
-มีการชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ -เตรียมเอกสารประกอบการทำสัญญาโครงการย่อยและลงนามในสัญญา คณะทำงานทีมงานย่อย จำนวน 3 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน เอกสารเกี่ยวกับสัญญาและรายละเอียดของโครงเข้าใจในรายละเอียด แบบฟอร์มเอกสารทางการเงินประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณและแนวทางในการเบิกจ่าย

 

3 0

2. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเวทีสนับสนุนการดำเนินงานด้านการจัดการผลลัพท์โครงการ มีเป้าหมายคือ
1.ชี้แจงความเข้าใจในวิธีการบันทึกผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน 2.เตรียมความพร้อมในการจัดการข้อมูลผลผลิตและผลลัพท์ของโครงการ 3.เรียนรู้ระบบโปรแกรมการรายงานผลการดำเนินงานของโครงการและรายงานพี่เลี้ยง 4.ฝึกการใช้งานโปรแกรมรายงานผล -เพิ่มกิจกรรม -บันทึกกิจกรรม ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องคอมพิวเตอร์ อาคารสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป คณะทำงาน จำนวน 2 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นายประพันธ์ สีสุข หน่วยจัดการฯจังหวัดยะลา ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรมในครั้งนี้ ให้รับทราบ 2.นายรุสลาม สาร๊ะ หน่วยจัดการฯได้เน้นย้ำในการบันทึกข้อมูลผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการ 3.นางสาวซัลมา หะยีสะมะแอ หน่วยจัดการ เพิ่มเติมและชี้แจงในประเด็นเอกสารการเงินที่สำคัญประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณโครงการ 4.วิทยากร ได้ถ่ายทอดแนวทางและวิธีการในการเข้าบันทึกผลการดำเนินงานตามแผนกิจกรรมของโครงการ ดดยละเอียดในทุกขั้นตอนพร้อมสาธิตตามขั้นตอนอย่างเข้าใจ ทำให้สามารถคีย์บันทึกผลการดำเนินงานกิจกรรมในช่วงที่ผ่านมาได้อย่างถูกต้อง เพิ่มกิจกรรม 11 กิจกรรมและบันทึกกิจกรรม จำนวน 3 กิจกรรม 5.คณะทำงานโครงการย่อยฯ ให้ความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ จำนวน 2 คน

 

2 0

3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์

วันที่ 10 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ ใช้ในวันที่จัดประชุมคณะกรรมการและการจัดกิจกรรมทุกครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ จำนวน 2 ป้าย ใช้ในวันที่จัดประชุมคณะกรรมการและการจัดกิจกรรมทุกครั้ง เพื่อทบทวนกิจกรรม  ผลที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (จัดตั้งคณะทำงานโครงการ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน -มีการแต่งตั้งคณะทำงาน -มีการวางแผนการดำเนินงาน -มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจน ณ ห้องประชุม อบต.อาซ่อง ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 10.00 น.เป็นต้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 -นายซัมซุดีน โดซอมิ ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงานโครงการและแนะนำรายชื่อคณะทำงานให้รับทราบ -คณะทำงานมีการวางแผนการเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมการดำเนินโครงการ -คณะทำงานมีการวางแผนการดำเนินงานโครงการในกิจกรรมต่อไป

 

40 0

5. เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย

วันที่ 15 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สำนักสร้างสรรค์โอกาส (สำนัก6) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ โดยหน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (Node Flagship) จังหวัดยะลา ได้จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ "เวทีทบทวนบันนไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย" โดยมีเป้าหมายในครั้งนี้ คือ 1.เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรม 2.เพื่อทบทวนบันไดผลลัพธ์เชิงประเด็นของโครงการ 3.การออกแบบเก็บข้อมูลเพื่อตอบผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา 2 ประเด็นหลัก ในวันที่ 15 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00 เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมโรงแรมปาร์ควิว จังหวัดยะลา กลุ่มเป้าหมายในกิจกรรมครั้งนี้ ได้แก่ ผู้รับผิดชอบโครงการหรือคณะทำงานโครงการย่อย จำนวน 2 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเป้าหมายในกิจกรรม คือ ผู้รับผิดชอบโครงการหรือคณะทำงานดครงการย่อย จำนวน 2 คน -นายประพันธ์ ศรีสุข หน่วยจัดการฯจังหวัดยะลา ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกิจกรรมเวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อยฯ -อจ.สุวิทย์ หมาดอะดำ ได้ชขี้แจงหลักการบันไดผลลัพธ์ของโครงการและเชิงประเด็น -แบ่งกลุ่มโครงการย่อยฯในการทบทวนบันไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการ โดย อจ.สุวิทย์ หมาดอะดำ และ นายรุสลาม สาร๊ะ -การออกแบบเก็บข้อมูลเพื่อตอบผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดยะลา 2 ประเด็นหลัก โดยคณะทำงานของหน่วยจัดการฯ

 

2 0

6. ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ร่วมกับ สำนักสร้างสรรค์โอกาส(สำนัก 6) สำนังานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) และทางจังหวัดยะลา ดดยสำนักงานจังหวัด ร่วมกับหน่วยจัดการจังหวัดยะลาระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) จังหวัดยะลา ได้จัดกิจกรรมเวทีประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมฦูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ โดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา มอบหมายให้ รองผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา (นายนิมะ มะกาเจ) เป็นประธาน และมีภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ รวมถึงผู้รับผิดชอบโครงการย่อยฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 60 คน มีเป้าหมายในการประชุมครั้งนี้ คือ
1.ภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ชัดเจนในหลักการและแนวทางรวมถึงรูปแบบ (Model) การดำเนินงานของหน่วยจัดการ 2.ภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ได้เติมเต็มประเด็นหัวข้อของตารางการเก็บข้อมูลฯและให้การยอมรับแบบบันทึกข้อมูล เพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในภาพรวมของจังหวัด โดยจัดประชุม ณ ห้องประชุมพิกุล อาคาร 3 ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดยะลา ในวันที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมการประชุม จำนวน 60 คน -ภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทุกหน่วยงาน เข้าร่วมครบถ้วนทั้ง 10 หน่วยงานหลัก และเข้าใจพร้อมรับทราบในรูปแบบชัดเจนและหลักการการดำเนินงานร่วมกันของหน่วยจัดการ -โครงการย่อยฯ ได้มีการเสนอความสำเร็จของกิจกรรม ให้กับประธานและภาคีขับเคลื่อนต่าง ๆ ในที่ประชุม ได้รับทราบร่วมกัน

 

1 0

7. คณะทำงานสำรวจชุมชนและจัดทำแผนที่ชุมชน

วันที่ 1 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการลงพื้นที่สำรวจชุมชนในวันที่ 1-2 กันยายน 2563 เพื่อจัดทำแผนที่ชุมชน ประกอบด้วย ถนนและสถานที่สำคัญต่าง ๆ เช่น มัสยิด โรงเรียน ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หนองน้ำและบ้านสมาชิกในชุมชนให้มีขนาดที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงาน จำนวน 40 คน ผลลัพธ์ ได้รับข้อมูลเป็นแผนที่ชุมชนที่ชุมชนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

 

40 0

8. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1)

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง เพื่อสรุปข้อมูลและเป็นการติดตามการทำงานครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการจำนวน 40 คน ได้ร่วมกันประชุมเพื่อสรุปข้อมูลการติดตามการทำงานครั้งที่ 1 ได้รับทราบถึงการทำงานว่าโครงการได้ดำเนินการไปกี่เปอร์เซ็นแล้ว จะได้วางแผนขั้นต่อไป

 

40 0

9. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ Node (Flagship) จังหวัดยะลา จัดประชุมเวทีนำเสนอผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และเชื่อมโยงการทำงานระหว่างพื้นที่กับหน่วยงาน ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ ชั้น 3 สำนักงานสาะารณสุขจังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการย่อยเข้าร่วมประชุมเวทีนำเสนอผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และเชื่อมโยงการทำงานระหว่างพื้นที่กับหน่วยงาน ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ ชั้น 3 สำนักงานสาะารณสุขจังหวัดยะลา

 

1 0

10. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2)

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 โครงการเพื่อสรุปข้อมูลและติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ 2 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 โครงการเพื่อสรุปข้อมูลและติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ 2 มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม 40 คน เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

 

40 0

11. การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย

วันที่ 21 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชุมชนช่วยกันปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายที่ชุมชนสามารถปรับปรุงได้เอง
-ติดป้ายเตือนผู้ใช้รถ ป้ายลดความเร็ว ป้ายเตือนสัตว์เลี้ยงข้ามถนน ต่าง ๆ
-ตัดแต่งพุ่มไม้ที่บดบัง ตัดหญ้าที่รกขึ้นมาบนถนน -ปรับแต่งหลุ่มมบ่อบนผิวถนน และทำความสะอาดผิวถนน และจุดเสี่ยงที่ชุมชนไม่สามารถแก้ไขได้เองก็ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยแก้ไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตคือจุดเสี่ยงอันตรายได้รับการแก้ไข หลุ่มบ่อบนผิวถนนได้รับการปรับแต่ง จำนวน 10 หลุม มีการปรับแต่งหญ้าสองข้างทาง มีการติดตั้งป้ายไวนิล จำนวน 6 ป้าย เพื่อเตือนผู้ใช้รถให้ระมัดระวังในการขับขี่รถอย่างปลอดภัย ให้สามารถมองเห็นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน

 

30 0

12. การสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานและอาสาสมัครในชุมชน จำนวน 20 คน ติดตามผลการดำเนินงานหลังจากทำการปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง -เก็บข้อมูลสถิติอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขปรับปรุงแล้ว -เฝ้าระวังจุดเสี่ยงใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้นใหม่ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและอาสาสมัครในชุมชน จำนวน 20 คน ติดตามผลการดำเนินงานหลังจากทำการปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง -เก็บข้อมูลสถิติอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขปรับปรุงแล้ว เป็นช่วงเวลา คือ 1 กุมภาพันธ์ - 25 มีนาคม 2564 -เฝ้าระวังจุดเสี่ยงใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้นใหม่ในชุมชน

 

20 0

13. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

หน่วยจัดการจังหวัดระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ Node (Flagship) จังหวัดยะลา ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมราชาวดี ชั้น 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมราชาวดี ชั้น 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม

 

2 0

14. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย

วันที่ 18 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องกฏจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย ในวันที่ 18 มีนาคม 2564 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง โดยมีกิจกรรมให้ความรู้เรื่องกฏจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย การรณรงค์สวมหมวกกันน็อค และการให้ผู้นำชุมชนเป็นแบบอย่างที่ดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชน จำนวน 100 คน ผลลัพธ์ สมาชิกในชุมชนได้รับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏจราจร การขับขี่อย่างปลอดภัย สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ จาก พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และความรู้อื่น ๆ

 

100 0

15. เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อยฯ ระดับหน่วยจัดการฯ

วันที่ 24 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หน่วยจัดการฯระดับที่มีจุดเน้นสำคัญจังหวัดยะลา โดยตัวแทนทีมหน่วยจัดการ นายประพันธ์ สีสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.ยะลา (PM) ร่วมกับทีมพี่เลี้ยง และทีมหน่วยจัดการฯ กำหนดจัดเวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนจากดครงการย่อยฯ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้แทนภาคีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดยะลา ในวันที่ 24 มีนาคม 2564 ณ ห้องขวัญจุฑา โรงแรมปาร์ควิว จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โดยกระบวนการการนำเข้าข้อมูล วัตถุประสงค์และแบ่งกลุ่มย่อยตามประเด็นยุทธศาสตร์ 2 เรื่อง ได้แก่ การลดอุบัติเหตุบนท้องถนน และผักปลอดภัย เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนได้กำหนดแผนมีหัวข้อคำถามเพื่อให้ได้ข้อมูล 10 หัวข้อ
ผลลัพธ์ ได้ชุดข้อมูลการสังเคราะห์และสกัดบทเรียน (ภาพรวม)ของประเด็นยุทธศาสตร์ ได้สัมพันธภาพความใกล้ชิดเป็นภาคีร่วมกัน

 

2 0

16. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน

วันที่ 26 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการจัดกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน ในวันที่ 26 มีนาคม 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชน จำนวน 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน ในวันที่ 26 มีนาคม 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง และประชุมเพื่อทบทวนผลจากการปรับปรุงจุดเสี่ยงว่าเป็นไปตามเ้าหมายหรือไม่ ร่วมกันคิดวิธีแก้ไขเพื่อลดอุบัติเหตุในชุมชนและสร้างพื้นที่ถนนปลอดภัยให้แก่ชุมชน

 

100 0

17. ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการจัดกิจกรรมถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงาน ในวันที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงาน ในวันที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 09.00 น.เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานและทบทวนบันไดผลลัพธ์

 

100 0

18. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ)

วันที่ 31 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 น.เป็นต้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 40 คน ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 น.เป็นต้นไป เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง สรุปภาพรวมทั้งโครงการรวมถึงเป้าหมายที่วางไว้ว่าโครงการสามารถบรรลุได้กี่เปอร์เซ็น

 

40 0

19. จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 5 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่ผู้ที่รับผิดชอบงาน ดำเนินการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ให้แล้วเสร็จหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ ให้แล้วเสร็จหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ (2) จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ (3) จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน (4) กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจชุมชนและจัดทำแผนที่ชุมชน (5) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย (6) กิจกรรมที่ 4 การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (7) กิจกรรมที่ 5 การสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ (8) กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน (9) กิจกรรมที่ 7 ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป (10) พัฒนาศักยภาพที่จัดโดย Node Flagship yala (11) เวทีปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย่อย (12) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย (13) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (จัดตั้งคณะทำงานโครงการ ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน) (14) เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย (15) ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (16) คณะทำงานสำรวจชุมชนและจัดทำแผนที่ชุมชน (17) อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย (18) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1) (19) การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (20) การสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ (21) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (22) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2) (23) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วแก่สมาชิกในชุมชน (24) ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (25) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ (26) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ) (27) เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อยฯ ระดับหน่วยจัดการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนตำบลอาซ่อง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซัมซุดีน โดซอมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด