Node Flagship

directions_run

โครงการ ส่งเสริมปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพชุมชนบ้านตาราแดะ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ชุนชนบ้านตาราแดะ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพหลัก มีการปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผล และพืชไร่ ส่วนใหญ่ใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี ทำให้เกษตรกรมีปัญหาเรื่องต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ใช้สารเคมีในกำจัดศัตรูพืช ประชาชนขาดความรู้วิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง ส่งผลกระทบจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อม ทําให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง อาจทําให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเกษตรกรเอง ด้านผลผลิตทางการเกษตรจะผลิตจำพวกผักสวนครัวอายุสั้น เช่น แตงกวา ถั่วฝักยาว ผักทอง ข้าวโพด แตงโม ได้ในปริมาณมาก จะบริโภคในครัวเรือนและส่งหน่ายให้กับพ่อค้าแม่ค้าคนกลาง และไปวางจำหน่ายในตลาดเมืองใหม่ยะลา เกษตรกรจึงไม่เห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารเคมี ขาดองค์ความรู้ด้านการใช้สารเคมี ไม่มีศูนย์การเรียนรู้ หรือต้นแบบในการเพาะปลูกพืชผักปลอดสารเคมี หลังจากมีหน่วยงานสำนักงานกองทุนส่งเสริมสุขภาพ สสส. ได้สนับสนุนให้มีโครงการ ส่งเสริมปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพชุมชนบ้านตาราแดะ ”อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมีพี่เลี้ยงจากสภาเกษตรจังหวัดยะลา ลงพื้นที่วิเคราะสภาพปัญหาในพื้นที่ พร้อมเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และอบรมให้ความรู้ให้กับเกษตรกรโดยเกษตรกรมีการรวมกลุ่ม จัดตั้งคณะทำงาน ให้มีการบริหารจัดตนเองตามบริบทในพื้นที่
จากการที่ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพชุนชนบ้านตาราแดะ ได้มีหน่วยงานจากเกษตรอำเภอเมืองยะลา ได้อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ สารกำกัดศัตรูพืช อบรมให้มีความรู้ไตรโคเดอร์มา ใช้สำหรับผสมน้ำรดราด หรือฉีดพ่น เพื่อกันเชื้อราโรคเน่า โรคใบใหม้ และเชื้อราได้หลากหลาย และยังมีอีกหน่วยงานสำนักงานจากเกษตรจังหวัดยะลา ได้อบรมการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ซึ่่งทาง Node flagship จังหวัดยะลา ได้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของกลุ่มปลูกผักบ้านตาราแดะ ได้แนะนำการบริหารจักการ กลุ่มให้ดำเนินตามบันไดผลลัพธ์     ผลจากการดำเนินโครงการ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพชุมชนบ้านตาราแดะ ทางกลุ่มปลูกผักบ้านตาราแดะ ได้มีการปลูกผักในแปลงรวม พื้นที่ จำนวน 3 ไร่ เกษตรกรมีความรู้มากขึ้นหลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการดังกล่าว ซึ่งทางกลุ่มเกษตรกรได้ตระหนักได้ให้ความสำคัญของสุขภาพ มีตรวจเลือดสารเคมีในเลือดของกลุ่มสมาชิก ทำให้เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลิกใช้สารเคมี หันมาปลูกผักแบบปลอดสารเคมี ทางกลุ่มฯประสบปัญหาน้ำท่วมขัง และปัญหาโรคระบาดโควิด-19 ทำให้การดำเนินโครงการชลอลง ทำให้ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ