Node Flagship

task_alt

โครงการ ส่งเสริมปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพคนเมือง เขตเทศบาลนครยะลา

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมปลูกผักปลอดภัยสู่สุขภาพคนเมือง เขตเทศบาลนครยะลา

ชุมชน เขตเทศบาลนครยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2020 ถึง 31 มีนาคม 2021

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน กันยายน 2020 ถึงเดือน ธันวาคม 2020

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.2 ประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพ คณะทำงาน และจัดทำข้อมูล จำนวน 10 คน โดยการสำรวจครัวเรือน จำนวน 45 ครัวเรือน

วันที่ 6 กันยายน 2020 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ณ ชุมชนตลาดเกษตร คณะทำงานได้ประชุม พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ใน โดยมีหัวข้อ เรื่อง 1)ประชุม กำหนดวางแผนงานดำเนินการ 2)พิจารณาแบบฟอร์มการสำรวจข้อมูล ครัวเรือน ก่อนปลูกผัก และ3) ลงพื้นที่ สำรวจ แลงผัก ของครัวเรือน

ผลจากการประชุม 1) คณะทำงานได้รูปแบบการสำรวจข้อมูลการของสมาชิก โดยแบ่งเป๋นสำรวจข้อมูลก่อนการปลูกผักปลอดภัย และติดตามการบันทึกข้อมูลหลังการปลูกผักปลอดภัย 2) ได้แบบฟอร์มการสำรวจข้อมูลสมาชิก 45 ครัวเรือน 3) ได้ข้อมูล การบริโภคผัก การผลิต และการตลาด ของสมาชิกก่อนดำเนินปลูกผักปลอดภัย จำนวน 45 ครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานกำหนดประชุม พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2563 ณ ชุมชนตลาดเกษตร โดยมีหัวข้อ เรื่อง ดังนี้
1)ประชุม กำหนดวางแผนงานดำเนินการ
2)พิจารณาแบบฟอร์มการสำรวจข้อมูล ครัวเรือน ก่อนปลูกผัก 3) ลงพื้นที่ สำรวจ แลงผัก ของครัวเรือน

 

10 0

2. 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย วันที่ 1 (หลักสูตร ที่ 1 และหลักสูตร ที่ 2)

วันที่ 12 กันยายน 2020 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ชุมชนมะลิสัมพันธ์ โครงการส่งเสริมปลูกผักปลอดภัย สู่สุขภาพคนเมือง เขตเทศบาลนครยะลา ได้จัดอบรม สมาชิก จำนวน 45 คน
อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย หลักสูตรที่ 1 การเตรียมดินและการบำรุงดิน และ หลักสูตรที่ 2 การทำปุ๋ยชีวภาพ โดยเชิญ นายอิสมาแอ ลาเต๊ะ สมาร์ตฟาร์เมอร์จังหวัดยะลา เป็นวิทยากรการผลิตปุ๋ยชีวภาพ และนางอัญชลี คงศรีเจริญ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นวิทยากรการปรุงดิน ผลการอบรมดังนี้ 1) สมาชิกเข้าร่วมอบรม จำนวน 45 คน
2) สมาชิกได้ความรู้การเตรียมดินและการบำรุงดิน เพื่อใช้ในการปลูกผักปลอดภัย โดยได้สูตร การปรุงดิน จำนวน 3 สูตร
สูตรที่ 1 มีส่วนประกอบ ด้วย   - แกลบเก่า หรือแกลบเผา   -มูลวัว หรือแพะ
-ขุยมะพร้าว -หน้าดินรวน หรือทราย
  สัดส่วนเท่ากัน และพด3 ผสมนำ้ 100 ลิตร ราด ป้องกันเชื้อรา สูตรที่ 2 -ดิน -ขุยมะพร้าว - ขี่เลื่อย - แกลบ
สัดส่วนเท่ากัน - ขี้ค้างค้าว 10 เปอร์เซ็น ของส่วนประกอบรวมทั้งหมด สูตรที่ 3
- แกลบเก่า - หน้าดิน - ปุ๋ยขี้ไก่แกลบ สัดสวนเท่ากัน

3) สมาชิกได้ความรู้เรืองการทำปุ๋ยชีวภาพ ใช้เอง ได้แก่ การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การทำนำ้หมักโนบาชิ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

โครงการย่อยฯ ได้กำหนดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย วันที่ 1  (หลักสูตร ที่ 1 และหลักสูตร ที่ 2) ในวันที่ 12 กันยายน 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ชุมชนมะลิสัมพันธ์ อบรม หลักสูตรที่ 1 การเตรียมดินและการบำรุงดิน หลักสูตรที่ 2 การทำปุ๋ยชีวภาพ

 

50 0

3. 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย วันที่ 2 (หลักสูตร ที่ 3)

วันที่ 13 กันยายน 2020 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วันที่ 13 กันยายน 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ชุมชนตลาดเกษตร โครงการย่อยฯ ได้จัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย วันที่ 2  (หลักสูตร ที่ 3 ) ในอบรม หลักสูตรที่ 3 การจัดการพื้นที่และการปลูกผัก 4 รูปแบบ (ได้แก่ 1)แบบปลูกในกระถัง/บ่อ 2)แบบขั้นบันได 3)แบบแขวน และแบบไร้ดิน ) โดย เชิญ นายกามาล อับดุลเลาะ เป็นวิทยากร ผลจากการอบรม ดังนี้ 1) สมาชิก ครัวเรือน ได้ความรู้ วิธีการ การปลูกผัก แบบใช้ดิน และแบบไร้ดิน (ใช้นำ้) และได้ปฏิบัติการปลูกผัก
2) สมาชิก ได้ทดลองปลูก และการดูแลผัก โดยทดลองปลูกผักแบบใช้ดิน คนละ 3 ชนิด ได้แก่ผักเคล ผักกาด และคะน้า ทดลองปลูกแบบไร้ดิน (ใช้น้ำ) 2 ชนิด ได้แก่ เรดโอ๊ต และ กรีนโอ๊ต

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

โครงการย่อยฯ ได้กำหนดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การผลิตผักปลอดภัย วันที่ 2  (หลักสูตร ที่ 3 ) ในวันที่ 13 กันยายน 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ชุมชนตลาดเกษตร อบรม หลักสูตรที่ 3 การจัดการพื้นที่และการปลูกผัก 4 รูปแบบ (ได้แก่ 1)แบบปลูกในกระถัง/บ่อ 2)แบบขั้นบันได 3)แบบแขวน และแบบไร้ดิน )

 

50 0

4. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 24 ตุลาคม 2020 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วันที่ 24-25 ตุลาคม 2563 ณ ชุมชนตลาดเกษตร โครงการส่งเสริมปลูกผักปลอดภัย สู่สุขภาพคนเมือง เขตเทศบาลนครยะลา ร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อพัฒนา โดยมี ผู้แทนจากโครงการย่อย จำนวน 4 คนเข้าร่วมในครั้งนี้
ผลที่เกิดจากเวที 1)ผู้แทนโครงการย่อย ได้นำเสนอรายงานความก้าวหน้าตามขั้นบันได้ผลผลัพธ์ของโครงการฯ
-โครงย่อยดำเนินการ บันไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 1 เสร็จ และอยู่ระว่างการดำเนินการบันไดผลผลัพธ์ ขั้นที่ 2 2)ผลจากบันไดผลลัพธ์ -ผลลัพธ์ที่คาดไว้ ครัวเรือนมีการร่วมกลุ่มและสร้างเครือข่ายชุมชน เป็นคณะทำงาน -ผลที่เกิด มีคณะทำงานการขับเคลื่อนผักปลอดภัยที่เกิดจากสมาชิก จำนวน 11 คน ได้แก่ ชุมชนตลาดเกษตร 5 คน ชุมชนห้าแยกกำปงบาโงย 3 คน และชุมชนมะลิ 3 คน ตามสัดส่วนสมาชิกเข้าร่วมโครงการ (25-10-10) 3) อุปสรรค์ของโครงการฯ ช่วงเวลาขณะนี้(เดือนตุลาคม 2563)อยู่ในช่วงการอบรมให้ความรู้ ซึ่งจะต่อเนื่องด้วยการลงมือปลูก แต่ไปชนกับช่วงฤดูกาล ที่กำลังเข้าช่วงหน้าฝนพอดี (เดือนตุลาคม-ธันวาคม) จึงจะเป็นอุปสรรคต่อการปลูกผัก  ซึ่งอาจส่งผลต่อผลลัพธ์ที่จะได้ผัก 4) ในเวทีได้ระดมความคิดเห็นร่วมกับโครงการปลูกผักปลอดภัยจากชุมชนอื่น เสนอให้มีการปรับมีการปลูก จากบนดิน มาปลูกแบบ ยกแคร่ ปลูกในกระถัง ปลูกในล้อยาง ปลูกในบริเวณบ้านที่สามารถดูแลและนำ้ท่วมไม่ถึง และปลูกผักจำพวกต้นอ่อน ที่ใช้เวลาสั้น เก็บเกี่ยวได้เร็ว เป็นต้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

หน่วยจัดการ สสส. ระดับจังหวัดยะลา กำหนดจัดเวที เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 ในวันที่ 24 -25 ตุลาคม 2563 ณ วิทยาลัยการอาชีพเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

 

4 0

5. ประชุมคณะกรรมการครั้งที่2

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2020 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วันที่ 15 มกราคม 2564 ณ สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา คณะทำงานโครงการส่งเสริมปลูกผักปลอดภัย สู่สุขภาพคนเมือง เขตเทศบาลนครยะลา ได้ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2  เรื่อง
1)กำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม งวดที่ 2 และ2)เลือกรูปแบบ และชนิดผัก ตามความความต้องการของสมชิกตามแบบสำรวจข้อมูล ผลการประชุม ดังนี้ 1) โครงการย่อยฯ ได้แผนการดำเนินงาน งวดที่ 2 2) ได้ข้อสรุปชนิดผักที่จะปลูก อย่างน้อย 7 ชนิด ต่อ ครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานได้กำหนดจัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15 มกราคม 2564 ณ สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา ประชุม เรื่อง
1)กำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม งวดที่ 2 2) เลือกรูปแบบ และชนิดผัก ตามความความต้องการของสมชิกตามแบบสำรวจข้อมูล

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 31 0                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,050.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางรอปีอะห์ กูทา
ผู้รับผิดชอบโครงการ