directions_run

อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประพาส แก้วจำรัส

ชื่อโครงการ อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63001690009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2020 ถึง 30 มีนาคม 2021


กิตติกรรมประกาศ

"อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63001690009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2020 - 30 มีนาคม 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการคลองนาโอ่ ในปีที่ผ่านมาจากการได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส.สำนัก6 ของหน่วยจัดการNode Flageship จังหวัดพัทลุง เพื่อแก้ไขปัญหาของการกัดเซาะของดินริมคลอง การมีสิ่งกีดขวางของต้นไม้ในลำคลอง การมีน้ำไม่เพียงพอในการอุปโภค การเกษตรในฤดูแล้ง การขาดความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำ จนทำให้ขาดความสมดุลทางระบบนิเวศน์ ขาดความมีชีวิตของวิถีชุมชน จึงต้องแก้ไขปัญหาดังกล่าว จนทำให้กลุ่มผู้นำชุมชนเริ่มต้นของการเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติในเรื่องสิ่งแวดล้อมจนทำให้เกิดขบวนการทำงาน การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่โดยเป็นการขับเคลื่อนกิจกรรมของ 3 ภาคส่วนเสาหลักของตำบลร่มเมือง นำขบวนด้านการมีส่วนร่วมด้วยฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง บวกผสานความเข้มแข็งจากภาคส่วนประชาชนในพื้นที่ หนุนเสริมการผนึกกำลังด้วยเทศบาลตำบลร่มเมือง ผ่านกระบวนการกิจกรรมทั้ง 14 กิจกรรม เกิดเป็นผลการดำเนินงาน ดังนี้
  1. สามารถสร้างพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นจากการปลูกต้นไม้หัวสวน จำนวน 2,056 ต้น และช่วยลดการพังทลายของดินริมคลองจากการปลูกต้นระฆังทองตลอด 2 ฝั่งริมคลองระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร
  2. การมีคุณภาพน้ำที่ดีสำหรับสิ่งมีชีวิตโดยการไม่ทิ้งขยะทุกประเภทและปลดปล่อยน้ำเสียลงสู่ลำคลอง และมีค่าฉลี่ยของความเป็นกรด – ด่าง คือ 7 และค่าทำละลายออกซิเจนเฉลี่ย 7 ppm.   3. แก้ไขปัญหาสิ่งกีดกั้นลำคลองสายน้ำได้ตลอกระยะทาง 9 กิโลเมตร
  4. การมีปริมาณน้ำที่เพิ่มสูงขึ้นจากขอบริมตลิ่งคลองและมีความชุ่มชื้นในระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตรจากตัวฝายมีชีวิต ทำให้มีน้ำทางการเกษตรที่เพียงพอสังเกตได้จากการไม่มีข้อร้องเรียนในทุกช่องทางของระบบประปาเทศบาล
5. เกิดวิถีชีวิตที่เชื่อมความสัมพันธ์ของชาวบ้าน สายคลอง ป่าไม้ สัตว์น้ำ เช่น มีบันไดลิงของชาวบ้านเพิ่มขึ้น
6. เกิดเป็นปฎิญญาคนร่มเมืองในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน ได้แก่ เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำตลอดแนวคลอง การจัดการขยะของชุมชน การจัดการต้นไม้อนุรักษ์(ต้นระฆังทอง)
7. เกิดภาคีภายนอกจากหน่วยงานภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็นชลประทานจังหวัดพัทลุงเข้ามาสำรวจสายคลอง
  สำนักงานป่าไม้จังหวัดพัทลุงที่คอยส่งเสริมให้ประชาชนปลูกต้นไม้ และช่วยสำรวจพันธุ์ไม้ มหาวิทยาลัยทักษิณในการส่งเสริมวิชาการและนักศึกเข้าร่วมการสำรวจเส้นทางทั้งภาคพื้นดินและลำคลองเพื่อช่วยเสริมความรู้เรื่องของระบบนิเวศน์ และอำเภอเมืองพัทลุงในนามของนายอำเภอเมืองพัทลุงได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในการช่วยผลักดันให้ภาคีภายนอกได้เข้ามามีส่วนในการระดมทุนจนผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุงได้คัดเลือกคลองนาโอ่ และสายคลองที่ต่อเนื่องลงไปตลอดถึงทะเลสาปลำปำผ่าน 7 ตำบลเป็นคลองเฉลิมพระเกียรติ
  การดำเนินงาน 1 ปีที่ผ่านมาเรียกได้ว่ามีความสำเร็จในระดับหนึ่งเพราะสามารถทำให้ผู้นำชุมชนทุกภาคส่วนมองเห็นและเข้าใจ มีความตระหนักในประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อม เรียนรู้คำว่าสามัคคี ร่วมใจ ทำให้ประชาชนเห็นถึงความสามัคคีของผู้นำชุมชน เห็นถึงโอกาสในการพัฒนาชุมชน ตำบลของตนเอง แต่ตลอด 1 ปีในการทำงานของคำว่าทีมยังมีส่วนของการเรียนรู้ในการจัดการข้อมูลอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์ที่มีการใช้เครื่องมือวิชาการ การแบ่งบทบาทที่จะต้องร่วมกันรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความสำเร็จในส่วนของทีมทำงาน และการผลักดันกิจกรรมให้เกิดการสร้างพื้นที่ป่าไม้ การสร้างพื้นที่แหล่งอาหารทั้งในน้ำและบนดิน การทำให้แหล่งน้ำมีความสะอาด สะดวก เพียงพอ และดำรงไว้ซึ่งคุณประโยชน์ของสายน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนอนุรักษ์คลองนาโอ่มีความเข้มแข็ง
  2. เพื่อให้คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิตยกระดับสู่ต้นแบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1
  2. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่1
  3. ปฐมนิเทศโครงการ NFS จังหวัดพัทลุง
  4. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 2
  5. เวทีทำความเข้าใจโครงการ
  6. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 1
  7. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่3
  8. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่2
  9. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่3
  10. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่4
  11. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่4
  12. ค่าตอบแทนในการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  13. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่5
  14. กิจกรรมเวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย
  15. กิจกรรมส่งตรวจเอกสารการเงินร่วมกับหน่วยงวดที่1
  16. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่5
  17. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6
  18. ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1
  19. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่6
  20. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7
  21. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่ึ7
  22. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8
  23. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่8
  24. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 9
  25. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอครั้งที่9
  26. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10
  27. ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 2
  28. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 1
  29. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่10
  30. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่2
  31. จัดทำป้าย
  32. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 3
  33. กิจกรรมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อทำการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยงาน
  34. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่่ 2
  35. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 3
  36. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  37. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่4
  38. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่5
  39. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่6
  40. ผ้าป่าต้นไม้(เวทีสรุปบทเรียนและนำเสนอข้อมูลต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)
  41. จัดทำชุดนิทรรศการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครัวเรือนท่ี่มีพื้นท่ี่หัวสวน 200

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1

วันที่ 2 มิถุนายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. หัวหน้าโครงการ นายประพาส แก้วจำรัส กำนันตำบลร่มเมือง กล่าวเปิดประชุม ชี้แจงรายละเอียดวาระการประชุมและประเด็นปรึกษาหารือ ทบทวนความก้าวหน้าของการประกาศใช้กติกา  ให้นายประพิศ ศรีนองดำเนินการคุยแนวทางการดำเนินการโครงการ
  2. นายประพิศ ศรีนอง รองประธาน และนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ชี้แจ้งโครงการ และร่วมกันแลกเปลี่ยนหาแนวทางการดำเนินงาน และสรุปโครงการที่ผ่านมา และคุยเชื่อมโยงการขับเคลื่อนโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ เพื่อพัฒนาโมเดลการจัดการน้ำโดยมีส่วนร่วมของชุมชนให้สมบูรณ์ สู่ร่วมกันสร้างเมืองลุงสู่เมืองสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  3. ร่วมกันระดมเสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานและสรุปหาแนวทางและกำหนดการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 30 คน โดยมีหน่วยงาน และภาคภาคีร่วมประชุม คณะทำงานได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลอง และทุกภาคีให้ความร่วมมือและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานจนสำเร็จ ร่วมทั้งปัญหาอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นกับการทำกิจกรรมฝายมีชีวิต และช่วยกันหาแนวทางแก้ปัญหาปรับปรุง ส่วนในเรื่องการจะทำฝายตัวใหม่ ทางกำนันนายประพาส แก้วจำรัส ได้ให้ฝ่ายนักปกครองลงพื้นที่สำรวจคลอง ดูปัญหาหรืออุปสรรค และจัดหาพื้นที่ที่่จะทำฝายตัวใหม่เพือให้สอดคล้องกับการใช้น้ำเพื่อการประกอบอาชีพทางการเกษตรเพือให้น้ำเพียงพอต่อฤดูแล้ง

 

30 0

2. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่1

วันที่ 11 มิถุนายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจและลงพื้นที่สำรวจมีการเก็บตัวอย่างน้ำ 3 จุด คือ1. ลำคลองบ้านนาโอ ณ สวนป่านาโฮ หมู่ที่ 4 ตำบลร่มเมือง 2.สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ 7 3.คลองบ้านนาโอ่ ณ คตกรีด หมู่ที่ 2 ตำบลร่มเมือง
  5. นำข้อมูลคุณภาพน้ำมาสรุปผล๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
          ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
          ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี
          ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส
          ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐
        ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร
      (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
          ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
          ๒
          = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร
        ๒
          ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง
          ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น         ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก
            ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส
            ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐
          ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๕ เมตร
          (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
          ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
          ๒
          = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร
        ๒
        ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
            ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
            ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี
            ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส
            ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ 


            ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร
            (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
            ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)
            ๒
            = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร
            ๒
  6. ทีมติดตามเฝ้าระวังคลองมีตัวแทนร่วมเทศบาลตำบลร่มเมือง สำรวจและร่วมพัฒนาคลองนำขยะในคลองไปจัดการทำให้คลองสวยน้ำใส
  7. สรุปผลการติดตามและการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานในการติดตามอย่างต่อเนื่อง และได้นำข้อมูลสถานการณ์วางแผนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลอง พร้อมทั้งได้นำเสนอคณะกรรมการอนุรักษ์คลองนาโอ่ใช้ในการวางแผนในการขับเคลื่อนงานได้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
  2. น้ำในคลองนาโอ่มีคุณภาพดี

 

10 0

3. ปฐมนิเทศโครงการ NFS จังหวัดพัทลุง

วันที่ 20 มิถุนายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. ลงทะเบียน
  2. เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/แนะนำตัวทำความรู้จัก
  3. ชี้แจ้งวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม ปฐมนิเทศโครงการ และแนะนำโครงการ Node Flagship พัทลุง ความเชื่อมโยงประเด็นกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่เมืองลุงสเขียว
  4. ให้ความรู้ทบทวนบันไดผลลัพธ์ใช้ในการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา กระบวนการคลี่บันไดผลลัพธ์  แต่ละพื้นที่ทบทวนบันไดผลลัพธ์ของโครงการ
  5. แบ่งกลุ่มย่อ่ยพื้นท่ีโครงการ การออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
  6. แบ่งกลุ่มย่อยพื้นท่ีโครงการ การออกแบบแผนดำเนินโครงการ จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการของแต่ละพื้นที่ ลงปฏิทินที่ทางหน่วจจัดการได้เตรียมและส่งปฏิทินการดำเนินงานให้หน่วยจัดการ
  7. แล่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย หน่วยงานที่มีบทบาทในการสนับสนุน/มีความรับผิดชอบประเด็นที่รับผิดชอบของแต่ละโครงการ เพื่อได้ประสานความร่วมมือและเตรียมจัดเวทีความร่วมมือกับภาคี
  8. ให้ความรู้การบริหารจัดการ การเงิน มีการนำเสนอและมีแผ่นภาพประกอบ พร้อมคู่มือในการจัดทำรายงานและรายงานการเงิน
  9. สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  10. การเขียนรายงานผ่านระบบ happy network และให้แต่ละพื้นที่บันทึกรายละเอียดโครงการลงระบบออนไลน์และบันทึกผลการดำเนินงานเป็นตัวอย่าง เพื่อทำให้แต่ละโครงการเข้าใจและนำไปใช้ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รู้เป้าหมายของโครงการNFSจังหวัดพัทลุง ที่มุ่งไปสู่การเป็นเมืองgreen city และพร้อมร่วมดำเนินการโครงการอนุรักษ์คลองเป็นโมเดล จะนำไปสู่การสร้างให้เกิดเมืองสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทรัพยากรสมบูรณ์สร้างเกิดความมั่นทางทางอาหาร สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี
  2. ได้มีความรู้บันไดผลลัพธ์และการคลี่บันในผลลัพธ์เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาเป็นระยะ เครื่องมือช่วยให้การดำเนินงานสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้  และมีความตั้งใจนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดำเนินงานโครงการ
  3. มีความรู้และสามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูล การประมวลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถเขียนการดำเนินโครงการผ่านรายงานผ่านระบบHappy Networkได้
  4. เกิดความรู้ความเข้าใจระบบหลักฐานทางการเงิน การทำบัญชีการจัดการการเงิน วางแผนงานและการบริหารจัดการ ได้รับหนังสือรับรองของเปิดบัญชีธนาคารจากหน่วยจัดการฯพัทลุง
  5. ได้เรียนรู้ปัญหาอุปสรรคของการทำงานในปีที่ 1 จากการสะท้อนของหน่วยจัดการNFS
  6. ได้ให้ข้อมูลภาคีความร่วมมือเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ/หน่วยงานหนุนเสริมการอนุรักษ์ลุ่มน้ำ เพื่อหน่วยจัดการประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนในพื้นที่และวางแผนร่วมกันต่อไปดำเนินงานขยายพื้นที่อนุรักษ์คลองเพื่อให้มีแม่น้ำลำคลองที่สะอาด น้ำเพียงพอในการอุปโภคและบริโภค

 

3 0

4. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 2

วันที่ 2 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. หัวหน้าโครงการ นายประพาส แก้วจำรัส แจ้งถึงการลงนามอนุมัติโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ ครั้งที่2
  2. มีการวางแผนในการพัฒนาคลอง และร่วมกำหนดแผนปฏิบัติการโครงการอนุรักษ์คลอง เตรียมเวทีทำความเข้าใจโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่และโรงเรียนพันธุ์ไม้ ได้ร่วมกันการหนดกำหนดการของแต่ละกิจกรรมและแบ่งบทบาทหน้าที่การจัดกิจกรรม  ทั้ง 2 กิจกรรม
  3. สำรวจลำคลองนาโอ่ นำผลการเปลี่ยนแปลงการอนุรักษ์คลองฯมาแลกเปลี่ยน และวางแผนในการดำเนินการในการทำความเข้าใจในระดับหมู่บ้านโดยเฉพาะหมู่บ้านขยายในปีที่ 2 จำนวน 3 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทุกฝ่ายเตรียมพร้อมและประสานกำลังพล ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหมู่บ้านแต่ละหมู่ ทีม อสม. ชาวบ้านตลอดจนนักเรียนนักศึกษา เพื่อเข้ามามีส่วนรวมในการพัฒนาคลองนาโอ่
  2. ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏฺิทินการดำเนินงานของโครงการ มีการแบ่งบทบาท การเตรียมงาน
  3. เป็นการสร้างกลไลระหว่างชาวบ้าน หน่วยงาน ให้มีความสามัคคคี

 

30 0

5. เวทีทำความเข้าใจโครงการ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมสร้างความเข้าใจกลุ่มผู้นำชุมชน องค์กร ชมรม กลุ่ม ในตำบลร่มเมือง 2.ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ และกรรมการกลุ่มอนุรักษ์คลองนาโอ่ เพื่อสร้างความเข้าใจ การทำงานและขับเคลื่อนกิจกรรม
3. ประชุมชาวบ้านทั้ง 9 หมู่บ้าน เพื่อให้เป็นแนวทางขับเคลื่อนคลองนาโอ่ ต่อจากโครงการ 1 4.กำหนดบทบาทหน้าที่ การเตรียมสถานที่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  มีผู้ให้ความสนใจและเขาร่วมเวทีการอนุรักษ์คลองนาโอ่ โครงการ2  จำนวน 200 คน ที่พร้อมจะช่วยในการดูแลสายน้ำ รักษาป่าไม้ ฟื้นฟูระบบนิเวศ ตามแนวริมคลอง ชายฝั่งคลอง
2.  ได้รับการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ ดังนี้ 1.ฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง บุคลากรร่วมเป็นคณะทำงานจัดเวที  2.เทศบาลตำบลร่มเมือง ร่วมสนับสนุนงบประมาณและบุคลากร  3.ชมรมผู้สูงอายุ เจ้าหน้าป่าไม้ 4.โรงเรียนวัดนาโอ่5.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหูแร่ 6.ประชาชนตำบลร่มเมือง 3. มีภาคีภายนอกตำบล ได้ร่วมกันประชุมเปิดโครงการ และมีกิจกรรมขอขมาแม่คงคา และร่วมกันปล่อยพันธ์ปลา จำนวน 3000 ตัว โดยมีนายพงศ์เทพ ประทุมสุวรรณ นายอำเภอเมืองพัทลุงมาเป็นประธาน ร่วมทั้งภาคีขับเคลื่อนลุ่มน้ำจังหวัดพัทลุง นายประพาส แก้วจำรัส กำนันตำบลร่มเมือง นายสมพงษ์ ดอนเพ็งจันทร์ นายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง นายสมบูรณ์ บุญวิสูตร ตัวแทนคณะกรรม 4.  ผู้เข้าร่วมมีความรู้และตระหนักความสำคัญของการปลูกต้นไม้ดูแลคลองป้องกันน้ำกัดเซาะและการชะล้างหน้าดิน  ได้มีความสมัครใจที่จะร่วมปลูกต้นไม้ป่าหัวสวนเพิ่ม มีต้นไม้เป็นทั้งพืชอาหาร  ไม้ใช้สอย  พืชเศรษฐกิจ  และพืชสมุนไพร  ต้นไม้ที่ได้รับแจกมีความตั้งใจนำไปปลูกในที่ของแต่ละคน

 

100 0

6. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ความรู้ เกี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 2.ลงมือปฏิบัติ กี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 3.แจกพันธุ์ไม้ให้กับสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คนมีความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับพันธ์ุไม้ วิธีการเพาะ เตรียมดิน การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 2. สามารถทำได้ การขยายพันธุ์พืช การบำรุงรักษาดูแลต้นกล้า 3. ได้นำกล้าไม้ไปปลูกจำนวน 60 คน

 

50 0

7. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่3

วันที่ 2 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.หัวหน้าโครงการ ได้กล่าวเปิดประชุม ในเรื่องการพัฒนาตำบลร่มเมืองในเรื่องของการแก้ปัญหาภัยแล้ง 2.ในเดือนนี้ นางศิรพร ทองทวีได้เข้าร่วมประชุม เรื่องการจัดกิจกรรมงานพิธีกรรมแม่โพสพ จะจัดทำในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี แต่เนื่องจากปัญหาโรคระบาค โควิด-19 จึงเลื่อนการจัดในเดือนสิงหาคม 3.การถอดบทบาทจากโครงการฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากความร่วมมือของคนในตำบลร่มเมืองที่ร่วมกันจัดทำฝายชะลอน้ำที่ผ่านมา ทำให้ชาวบ้านมีน้ำใช้ในการเกษตรได้ดีขึ้น ต้นไม้มีความสมบูรณ์ขึ้น

 

30 0

8. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่2

วันที่ 5 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศแจ่มใส กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๘มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๑ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๖ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๘ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘๖เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗๔ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘๖ + ๐.๗๔ = ๐.๘๐ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๖.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗ + ๐.๖ = ๐.๖๕ เมตร ๒

 

10 0

9. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่3

วันที่ 20 สิงหาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๕ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๐ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗๕ + ๐.๖๐ = ๐.๖๗๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๘ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๗ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๘ + ๐.๗ = ๐.๗๕ เมตร ๒

 

10 0

10. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่4

วันที่ 2 กันยายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.  วางแผนการดำเนินงาน  กำหนดวันจัดกิจกรรม โครงการจิตอาสาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
2.  กำหนดการวางแผนฝายมีชีวิต และแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานในการเตรียมการทำฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้กำหนดแผนการดำเนินงาน
ได้แบ่งทีมประสานงาน นายประพิศ ศรีนอง มีหน้าที่ เตรียมของ วัสดุ อุปกรณ์ นายสวาท จันทมาส มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์ นายประพาส แก้วจำรัส มีหน้าที่ ติดต่อหน่วยงาน และสร้างความเข้าใจในชุมชนมาร่วมทำฝาย คณะทำงานมีส่วนรวมในการกำหนดแสดงความคิดเห็นในการทำฝาย

 

30 0

11. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่4

วันที่ 18 กันยายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโอ่ หมู่ที่ ๔ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศมืดครึ้ม กระแสน้ำไหลเอื่อย ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้ น้ำมี สีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๓ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๙ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๙ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๙ + ๐.๙ = ๐.๙๐เมตร ๒ ๒. บริเวณลำคลองบ้านลำ ณ สวนป่าโหล๊ะเคียน หมู่ที่ ๗ ตำบลร่มเมือง ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำไหลแรง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และโรงเรียน น้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๗.๕ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดีมาก ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๖ องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๗.๐ ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗๓ เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖๔ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗๓ + ๐.๖๔ = ๐.๖๘๕ เมตร ๒ ๓. บริเวณลำคลองบ้านนาโอ่ ณ คตตรีด หมู่ที่ ๒ ตำบลร่มเมือง
ลักษณะกายภาพ สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส กระแสน้ำนิ่ง ไม่มีขยะในน้ำ บริเวณโดยรอบเป็นบ้านเรือนหรือชุมชนน้ำมีสีและขุ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = ๖ มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณท์ดี ผลตรวจวัดอุณหภูมิ = ๒๗องศาเซลเซียส ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรดด่าง = ๘.๐


ค่าความโปร่งแสง (๑) ระยะที่มองไม่เห็น ๐.๗เมตร (๒) ระยะที่มองเห็น ๐.๖ เมตร
ค่าความโปร่งแสง = (๑) + (๒)   ๒ = ๐.๗ + ๐.๖ = ๐.๖๕ เมตร ๒

 

10 0

12. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่5

วันที่ 2 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. แจ้งเพื่อทราบ กิจกรรมในการรณรงค์และพัฒนาคลองนาโอ ได้จัดโครงการความร่วมมือของคณะทำงานอนุรักษ์คลองนาโอ ร่วมกับหน่วยงานในตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง โรงเรียนวัดโอ๋ โรงเรียนวัดกลาง ทสจ.พัทลุง ร่วมกิจกรรมในการให้ความรู้การมีส่วนร่วมของจิตอาสาในการดูแลรักษาคลอง ปลูกไม้ริมคลองป้องกันการพังของหน้าดีน ป้องกันตลิ่งพัง ไม่ทิ้งขยะลงคลอง และร่วมกันพัฒนาคลอง โครงการจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมในวันทื่ 9 กันยายน 2563
  2. โครงการขุดลอกคลองในหมู่ที่ 9 เนื่องจากเข้าสู่ช่วงฤดูหน้าฝนการขุดลอกให้น้ำไหลสะดวก
  3. กำหนดแผนการทำงานในเดือนพฤศจิกายน 2563 การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนและผู้สนใจในชุมชนเตรียมวัสดุอุปกรณ์และระดมทุนระดมแรงที่จะใช้ในการทำฝายมีชีวิต ติดตามในการปลูกและการเพาะกล้าไม้ของโรงเรียนต้นไม้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ติดตามโครงการจิตอาสา มีทั้งองค์กร ชาวบ้าน และกลุ่มจิตอาสา นักเรียน จำนวน 150 คน มีความตื่นตัวและตั้งใจเข้าร่วมพัฒนา แต่ละคนได้มีการนำต้นไม้ที่ได้รับมอบไปปลูกในสวนของแต่ละคนเพื่อเพิ่มพืนที่สีเขียว
  2. หน่วยงานมีความร่่วมมือสนับสนุนบุคลากร  เทศบาล โรงเรียน รพ.สต และภาคีอื่น ๆ เข้าร่วมโครงการพัฒนาและอนุรักษ์คลองนาโอ และมีแผนร่วมกันในการอนุรักษ์และพัฒนาคลองนาโอ โดยแต่ละองค์กรพร้อมให้การสนับสนุนความรู้ งบประมาณ บุคลากร ตามความเหมาะสม เช่น เทศบาลตำบลร่มเมืองได้นำเรื่องของการอนุรักษ์และพัฒนาคลองเข้าเป็นแผนงานขององค์กร
  3. ได้แผนปฎิบัติงานในเดือนพฤศจิกายน 2563 กิจกรรมปรับปรุงข้อมูลคลอง วันที่ 25 พ.ย. 63 สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวังคลองนาโอ่ 18 พ.ย. 63 ได้มีการแบ่งให้คณะทำงานแต่ละหมู่บ้านทำความเข้าใจคนในหมู่บ้าน และคนที่สนใจ ระดมทุน/วัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำฝายมีชีวิต ดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ ทำหลังน้ำท่วม ช่วงเวลาที่เหมาะสมซึ่่งทำเสร็จก็จะสามารถทำให้น้ำเพิ่มขึนในช่วงฤดูแล้งทำให้คนในชุมชนมีน้ำเพียงพอสำหรับการอุปโภคโดยเฉพาะการทำเกษตรทำให้ชุมชนมีพื้นที่สีเขียว/อาหารปลอดภับริโภค

 

30 0

13. กิจกรรมส่งตรวจเอกสารการเงินร่วมกับหน่วยงวดที่1

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเตรียมเอกสาร 2. นำเอกสารส่งตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายสวาท จันทมาส นายประพิศ ศรีนอง และนางพรทิพย์ ฤทธิ์เรือง เดินทางนำส่งเอกสารเบิกจ่ายงวดแรก เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่

 

3 0

14. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่5

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่าOD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  4. กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  5. ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท = ดี ความโปร่งแสง = 1+2 = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้ สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง 1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร 2. ระยะที่มองเห็น 1.1 เมตร   ค่าความโปร่งแสง = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง 1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร 2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร   ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท ดี

 

10 0

15. ค่าตอบแทนในการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ โดยต้องอาศัยระบบอินเตอร์เน็ตในการคี่ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจคลอง ค่าน้ำ และการทำฝ่าย ในแต่ละขั้นตอนลงในระบบคอมพิวเตอร์

 

1 0

16. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 6

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.ประธานเปิดการประชุม โดยนายประพาส แก้วจำรัส 2. รับรองผลการประชุมจากครั้งที่ 5/2563 3.แจ้งเพื่อทราบ 4.เรื่องพิจารณา 5.เรื่องอื่น ๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายประพาส แก้วจำรัส ประธานโครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ กล่าวเปิดประชุม โครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ ฝายตัวที่ 2 จะสร้างขึ้นตรงบริเวณท่าน้ำสวนป่านาโอ่ ตรงกับทางลงลอยกระทง แต่ปัญหาช่วงนี้ติดกับสถานะการณ์โรคระบาดโควิด 19 ทำให้การดำเนินงานล่าช้า แต่ก็ต้องดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จทันเวลากับตัวโครงการทีได้งบประมาณมา โครงการอนุรักษ์คลองนาโอ่ งบประมาณที่ได้มาครั้งนี้เป็นจำนวนเงิน 108,000 บาท งบที่ได้มาครั้งนี้ ได้มาจำนวนน้อย แต่โครงการของเราต้องดำเนินการให้เสร็จตามเป้าหมาย และขอให้ผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่ช่วยประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านเข้าร่วมกิจกรรมหรือผู้ใดสนใจร่วมบริจาคสิ่งของหรือจะบริจาคเป็นเงินก็ตามแต่ศรัทธา

 

30 0

17. ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำข้อมูลจากปีที่ 1 มากำหนดแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในปี
    2 พร้อมร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูล และแบ่งบทบาทการเก็บข้อมูล
  2. ปฏิบัติการเก็บข้อมูล ตามที่ออกแบบและกำหนดไว้
  3. ทีมข้อมูลรวบรวมข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการในการจัดการและอนุรักษ์คลองนาโอ่พร้อมสรุปข้อมูล

    1. ทบทวนข้อมูลและผลสรุปข้อมูลก่อนส่งต่อในเวที่คืนข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงานเกิดตัวแทนหลากหลาย และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ สามารถจัดการและอนุรักษืคลองได้อย่างเหมาะสม และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากปีที่แล้วและปีนี้ เพื่อสามารถขับเคลื่อนการจัดการคลองและอนุรักษ์คลองได้อย่างต่อเนื่อง

 

10 0

18. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่6

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ การค้นหาค่า OD ทุกเดือน
  2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ
  4. ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

10 0

19. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 7

วันที่ 2 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1.ประธานเปิดการประชุม โดยนายประพาส แก้วจำรัส 2. รับรองผลการประชุมจากครั้งที่ 5/2563 3.แจ้งเพื่อทราบ 4.เรื่องพิจารณา 5.เรื่องอื่น ๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายประพาส แก้วจำรัส ประธานเปิดการประชุม โดยสืนเนื่องจากการประชุมครั้งที่แล้ว ในการจัดทำฝายมีชีวิต ขอเลื่อนการจัดทำไปก่อน เพราะสถานการณ์โรคระบาดและจะนัดประชุมอีกครั้ง แต่การทำฝายตัวใหม่นี้ให้แต่ละฝ่ายแบ่งบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน เพื่อความสะดวกในการทำฝาย ส่วนการเพาะพันธ์ุต้นกล้า จะกำหนดวันในวันท่ี 23 มีนาคม 2564 และ วันที่ 8 เมษายน 2564

 

30 0

20. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่ึ7

วันที่ 18 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

1 การตรวจวัดคุณภาพน้ำ โดยทางกายภาพ 2. รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงาน 3. กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

10 0

21. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8

วันที่ 2 มกราคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. นายประพาสแก้วจำรัส ประธานโครงการกล่าวเปิดประชุม
  2. ให้คณะทำงานรายงานผลการทำงานในแต่ละช่วงโครงการ
  3. จัดเตรียมสิ่งของและนัดหมายในรอบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูคลองด้วยชุมชน ทุกภาคีความร่วมมือพร้อมเข้าร่วมและสนับสนุนการขับเคลื่อนงานสำเร็จ เกิดกลไกคณะทำงานที่มีความร่วมมือระหว่างชุมชน ฝ่ายท้องที่ ทต.ร่มเมือง โดยมีส่วนหน่วยงานในพื้นที่ เช่น รพ.สต. โรงเรียนวัดนาโอ๋ วัดนาโอ และทางอำเภอเป็นพี่เลี้ยงและร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน มีคณะทำงานจำนวน 30 คน ได้มีการวางแผนการดำเนินงานและลงปฏิทินการดำเนินงานของโครงการ และได้มีการกำหนดเวทีเปิดโครงการ มีการแบ่งบทบาทในการประสานงาน การเตรียมงาน และเชื่อมโยงเรื่องวิถีวัฒนธรรมในการบวชป่าเข้าร่วมในกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกคนรักษ์แม่น้ำลำคลอง ได้เกิดความรักความสามัคคีและพร้อมร่วมคิดร่วมมือร่วมใจในการขับเคลื่อนการทำงานสำเร็จาตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ได้กำหนดไว้

 

30 0

22. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่8

วันที่ 11 มกราคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ
  2. กำหนดจุดพิกัดในการตรวจ 5.ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

10 0

23. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 9

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ และคณะกรรมการกลุ่มอนุรักษ์พัฒนาคลองวัดโอ่ เพื่อวางแนวทางการดูแล เฝ้าระวัง รักษาไว้ซึ่งความเป็นคลองนาโอ่ในเขตพื้นที่สายน้ำคลองลำ
  2. นำแนวทางที่ได้จากการประชุมตามข้อ 1 มากำหนดรูปแบบกติกาที่เป็นรูปธรรม
    1. นำกติกาที่ได้กำหนดจัดทำประชาคมผ่านการประชุมหมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน และนำไปปฏิบัติใช้อย่างไม่เป็นทางการ   4. ประกาศการใช้กติกาอย่างเป็นทางการแก่ชาวบ้าน ผู้นำทุกกลุ่ม ทุกภาคส่วนในตำบลร่มเมือง
    2. ติดตามรายงานผลการกำหนดใช้กติกาผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง
  3. ทบทวน ปรับปรุง กติกาให้มีความสอดคล้อง เหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการร่วมกันทำฝายมีชีวิตตัวที่ 2 โดยได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นคณะทำงาน แกนนำฝ่ายปกครอง เทศบาล โรงเรียน รพ.สต อสม วัด และชาวบ้าน  ซึ่งร่วมมือร่วมพลังกันทำฝายจนเกิดฝายมีชีวิตเกิดขึ้น และได้ส่งผลให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนได้อีกด้วย

 

30 0

24. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอครั้งที่9

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำโดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีการประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

10 0

25. ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10

วันที่ 2 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวาระการประชุมคณะทำงานคลอง 2.แจ้งรายงานผลความก้าวหน้าของโครงการพร้อมกับรายงานสถานะการเงินของโครงการ 3.ค้นหาความสำเร็จความล้มเหลว ในการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-คณะทำงานเข้าร่วมการประชุม จำนวน 30 คน -ผู้รับผิดชอบชี้แจงสถานะทางการเงินของโครงการ -รายงานผลการลงติดตามคลองโดยการล่องเรือสำรวจความสะอาดเรียบร้อยของสายคลอง -คณะทำงานปรึกษาในการเตรียมประกาศเวทีปริญญาร่มเมือง

 

30 0

26. ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 2

วันที่ 4 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำข้อมูลจากปีที่ 1 มากำหนดแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในปี
    2 พร้อมร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูล และแบ่งบทบาทการเก็บข้อมูล
  2. ปฏิบัติการเก็บข้อมูล ตามที่ออกแบบและกำหนดไว้
  3. ทีมข้อมูลรวบรวมข้อมูลและจัดทำแผนปฏิบัติการในการจัดการและอนุรักษ์คลองนาโอ่พร้อมสรุปข้อมูล

    1. ทบทวนข้อมูลและผลสรุปข้อมูลก่อนส่งต่อในเวที่คืนข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวแทนแต่ละฝ่ายได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละส่วนเพื่อนำมาประกอบข้อมูลจัดทำฝายมีชีวิต

 

10 0

27. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 1

วันที่ 10 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายประพาส แก้วจำรัส และผู้ใหญ่บ้านร่วมทั้งทุกภาคส่วนลงพื้นที่สำรวจบริเวณคลองนาโอ่ และท่าน้ำที่่จะทำการสร้างฝายมีชีวิต จากการสำรวจได้มีการลงมติสร้างฝายที่ท่าน้ำสวนป่านาโอ่

 

25 0

28. สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่10

วันที่ 18 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.การตรวจวัดคุณภาพน้ำ โดยทางกายภาพ 2.รายงานผลผ่านเวทีประชุมคณะทำงานคลอง 3.กำหนดทีมออกปฏิบัติการ 4.กำหนดจุดพิกัดในการออกตรวจ 5.ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จุดตรวจวัด สะพานคตคอนกรีด  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวรรอบ ๆ เแม่น้ำมีบ้านเรือนและชุมชน  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด มีสีเล็กน้อย ขุ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย สภาพทั่วไป มีกิ่งไม้เล็กน้อย ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =8 มล. ผฃการวัดอุณหภูมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 1.15 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท =  ดี ความโปร่งแสง = 1+2  = 1.15 เมตร 2. จุดตรวจสะพานวัดกลาง  สภาพท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบ ๆแม่น้ำมีป่าไม้  สภาพของน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั่วไปไม่มีขยะลอยมากับน้ำ ผลการวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ  = 7 มล.
ผลการตรวจวัดอุณหภูมิ  = 28 องศา ผบการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปร่งแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.4 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น  1.1 เมตร     ค่าความโปร่งแสง  = 1+2=1.25 เมตร คุณภาพน้ำอยุ่ในประเภท  = ดี 3.จุดตรวจวัด ท่าน้ำตลาดนัดประชารัฐ  สภาพอากาศท้องฟ้าแจ่มใส สภาพแม่น้ำไหลเอื่อย สภาพบริเวณรอบๆ แม่น้ำ มีบ้านเรือนและชุมชน สภาพน้ำขณะตรวจวัด ไม่มีสี ใส ไม่มีกลิ่น สภาพทั้่วไปไม่มีขยะมากับน้ำ
ผลการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ =6.5 มล. ผลการตรวจวัดอุณหภุููมิ = 29 องศา ผลการตรวจวัดค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7 ค่าความโปรงแสง   1. ระยะที่มองไม่เห็น 1.2 เมตร   2. ระยะที่มองเห็น 1.0 เมตร     ค่าความโปร่งแสง = 1+2 = 1.1 เมตร คุณภาพน้ำอยู่ในประเภท  ดี

 

10 0

29. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่2

วันที่ 19 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่ทำฝาย โดยการใช้รถไถปรับสถาพบริเวณที่จะสร้างฝาย และระดมชาวบ้าน ร่วมทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เคลียร์บริเวณลำคลอง ช่วยกันหาไม้ไผ่ เตรียมพร้อมไว้ทำฝายมีชีวิต

 

25 0

30. จัดทำป้าย

วันที่ 19 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้าย เขตปลอดบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ ป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เขตปลอดเขตปลอดบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ มีการติดช้ดเจน ที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน และได้ป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม จำนวน 2 ป้าย

 

1 0

31. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 3

วันที่ 20 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ระดมกลุ่ม แกนนำ ร่วมทั่้งภาคภาคี เครือข่าย พร้อมด้วยชาวบ้านใกล้เคียง ช่วยกันสร้างฝายมีชีวิตและมอบหมายหน้าที่ต่าง ๆ ให้แต่ละกลุ่ม ช่วยกันทำงานตามหน้าที่ เพื่อที่จะให้งานออกมาสำเร็จ

 

25 0

32. กิจกรรมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อทำการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยงาน

วันที่ 20 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้กับหน่วย ARE 1 ของหน่วยจัดการ ตัวแทนคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม 3 คน รายงานผลการดำเนินการตามบันไดผลลัพธ์ แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนตามประเด็น(กลุ่มสิ่งแวดล้อม) สรุปรูปแบบการจัดการของโครงการ ทิศทางการจัดการของภาคียุทธศาสตร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้แทนคณะทำงานเข้าร่วม 3 คน (หน.โครงการ /การเงิน/ผู้เขียนรายงาน) ผลลัพธ์ ผลการดำเนินงานถึงบันไดขั้น 2

 

3 0

33. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่่ 2

วันที่ 23 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. กำหนดพันธุ์ไม้ในแต่ละชนิด แต่ละกลุ่มประเภท ความต้องการปลูกของชาวบ้านริมคลองหัวสวน
  2. ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สำหรับเพาะพันธุ์กล้าไม้เพื่อใช้ในการปลูกบริเวณริมคลอง
  3. จัดทำโรงเรือนเพาะพันธุ์ อนุบาลกล้าไม้ สำหรับเป็นแหล่งพันธุ์ไม้ให้กับชาวบ้านที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายหลัก 2 ข้างฝั่งริมคลอง และชาวบ้านทั่วไปในตำบลร่มเมือง
  4. ดำเนินการจัดซื้อจัดหากล้าไม้ที่หายาก เพื่อการขยายพันธุ์
  5. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนชาวบ้านทั่วไปเข้าร่วมปลูกต้นไม้บริเวณริมฝั่งคลองทั้ง 2 ข้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดหาต้นกล้า จากหน่วยงานเพาะพันธ์ุต้นกล้าจังหวัดพัทลุง และได้จากชาวบ้าน รวมทั้งต้นกล้าเล็กๆจากสวนป่านาโอ่  ต้นกล้าที่ได้มาได้นำมาเพาะชำไว้ที่ทำการกำนันผู้ใหญ่บ้าน ต.ร่มเมือง โดยมีชาวบ้าน กลุ่มองค์กร อสม. แกนนำชุมชน ช่วยกันเพาะชำ

 

50 0

34. โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้) ครั้งที่ 3

วันที่ 28 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดพันธุ์ไม้ในแต่ละชนิด แต่ละกลุ่มประเภท ความต้องการปลูกของชาวบ้านริมคลองหัวสวน 2. ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สำหรับเพาะพันธุ์กล้าไม้เพื่อใช้ในการปลูกบริเวณริมคลอง 3. จัดทำโรงเรือนเพาะพันธุ์ อนุบาลกล้าไม้ สำหรับเป็นแหล่งพันธุ์ไม้ให้กับชาวบ้านที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายหลัก 2 ข้างฝั่งริมคลอง และชาวบ้านทั่วไปในตำบลร่มเมือง 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดหากล้าไม้ที่หายาก เพื่อการขยายพันธุ์ 5. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนชาวบ้านทั่วไปเข้าร่วมปลูกต้นไม้บริเวณริมฝั่งคลองทั้ง 2 ข้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ต้นกล้า พันธ์ุไม้ ซึ่งได้จากศูนย์เพาะชำกล้าไม้และต้นกล้าบริเวณสวนป่า โดยอาศัยชาวบ้าน กลุ่ม องค์กร และส่วนราชการ ช่วยกันเพาะชำกล้าไม้ โดยใช้บริเวณพื้นที่ทำการปกครองกำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นที่เพาะชำต้นกล้า

 

50 0

35. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 30 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ผูัรบทุนโครงการได้สำรองเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับทุนโครงการได้รับเงินคืนสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร่ จำนวน 100 บาท

 

0 0

36. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่4

วันที่ 20 เมษายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำฝายมีชีวิตในวันที่ 20 มีนาคม 2564 ผลลัพธ์ที่ได้คือทุกภาคส่วนให้ร่วมมือเป็นอย่างดี แต่เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ระบาด จึงทำให้การทำงานต้องใช้กำลังคนไม่เกิน 50 คน แต่ไม่ได้ส่งผลกระทบกับการทำฝายครั้งนี้เลย ทุกคนให้ความร่วมมือดีมาก การสร้างฝ่ายประสบความสำเร็จเกินครึ่ง

 

25 0

37. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่5

วันที่ 27 เมษายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายประพาส แก้วจำรัส และผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ทั้ง 9 หมู่บ้าน พร้อมด้วย คณะว่าที่นายกเทศมนตรีตำบลร่มเมือง นายสมบูรณ์ บุญวิสูตร และ สท รวมทั้งพระ สามเณร ร่วมกันทำฝายมีชีวิตในวันนี้ ทำให้ฝายมีความก้าวหน้าเกือบจะสมบูรณ์แบบ  ด้วยพลังสามัคคี

 

25 0

38. ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่6

วันที่ 21 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.กำหนดวันเวลา และจุดจัดทำฝายมีชีวิต 2.จัดเตรียมพื้นที่ ที่กำหนดจัดทำฝายมีชีวิต 3.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ในการทำฝายมีชีวิต 4.ประชาสัมพันธ์กำหนดการเพื่อรวบรวมพลังชาวบ้าน 5.ดำเนินการสร้างฝายมีชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายประพาส แก้วจำรัส พร้อมด้วยคณะทำงานฝ่ายปกครองตำบลร่มเมือง และมีหน่วยงานเทศบาลตำบลร่มเมือง โดยนายสมบูรณ์ บุญวิสูตร และคณะบริหารงาน  อสม.บ้านลำ และ ชาวบ้านร่วมกันทำฝายมีชีวิต

 

25 0

39. ผ้าป่าต้นไม้(เวทีสรุปบทเรียนและนำเสนอข้อมูลต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)

วันที่ 25 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเวทีประชุมสรุปบทเรียนการจัดการอนุรักษ์คลอง 2.รวมกันอนุรักษ์และห่มผ้าต้นไม้ 3.ถอนบทเรียนในการทำฝายครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกฝ่าย ทุกเครือข่าย รวมทั้งหน่วยงาน รพ.สต อสม นักเรียน ประชาชน ได้มีส่วนร่วมในการพาปิ่นโตคนละสายเพื่อถวายพระ  และได้มีส่วนรวมในการห่มผ้าต้นไม้ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ต้นไม้ไม่ให้ถูกทำลายทั้งนี้คณะทำงานพร้อมด้วยตัวแทนจาก รพ.สต อสม. ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำชาวบ้านร่วมกันถอนบทเรียนการเรียนรู้ แนวทาง การแก้ไขปัญหา และผลกระทบและประโยชน์จากการทำฝายครั้งนี้

 

100 0

40. จัดทำชุดนิทรรศการ

วันที่ 25 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานได้มอบหมายให้ทีมงาน นำผลการดำเนินงานไปออกแบบจัดทำชุดนิทรรศการ ส่วนของป้ายไวนิลล์จ้างร้านจัดทำตามแบบ เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงานที่เข้าร่วม และเผยแพร่ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอนุรักษ์คลอง
    2.ในวันเตรียมงานทีมงาน 5 คนที่ได้รับมอบหมายจากคณะทำงานได้ จัดนิทรรศการเป็นฐานการเรียนรู้นำเสนอโมเดลการอนุรักษ์คลองนาโอ สายน้ำมีชีวิต ฟื้นคลองฟื้นชีวิตคืนความสมบูรณ์ สานพลังชุมชน
    3.นำเสนอโมเดลการรจัดการน้ำโดยชุมชน "อนุรักษ์คลองนาโอ" วิทยากรชุมชนให้ความรู้โดยมีชุดนิทรรศการประกอบ ผลความเปลี่ยนแปลงความสำเร็จของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ชุมนิทรรศการโมเดลการจัดการน้ำโดยชุมชน "อนุรักษ์คลอง ฟื้นคลอง ฟื้นชีวิต สู่สายน้ำมีชีวิตที่คลองนาโอ"  ผู้เข้าร่วมมีความสนใจได้ความรู้การจัดการน้ำ/อนุรักษ์คลองของตำบลร่มเมืองเพิ่มขึ้น หน่วยงานมีความสนใจพร้อมร่วมขับเคลื่อนอนุรักษ์คลอง

 

1 0

41. กิจกรรมเวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย

วันที่ 30 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

เวทีการเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคีที่เกี่ยว พื้นที่ เข้าร่วม จำนวน 3 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน ผู้รายงานกิจกรรมรายงานความก้าวผ่าระบบออนไลน์ รับฟังการชี้แจงจุดประสงค์ในการเชื่อมร้อย จากผู้รับผิดชอบหน่วยจัดการ NFS นาย ไพฑรูณ์ ทองสม จุดประสงค์ เพื่อการเชื่อมร้อยการดำเนินงานของพื้นที่และหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวของแต่ละยุทธศาสตร์ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานเพื่อไปสู่เป้าหมายร่วมกัน สามารถดำเนินงานและสนับสนุนหนุนเสริมการดำเนินงาน วางแนวทางการดำเนินงานร่วมกันได้ มีการแนะนำหน่วยงานภาคีที่เกี่ยว ตามยุทธศาสตร์ และพื้นที่โครงการจำนวน 25 พื้นที่ แนะนำพี่เลี้ยงประจำพื้นที่ จากนั้นแบ่งกลุ่มตามประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งพื้นที่บ้านควนคงอยู่ประเด็นยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัยมีพี่เลี้ยงประจำกลุ่ม เป็นคนชวนคุย สร้างความเข้าใจ ระหว่างพื้นที่และหน่วยงานภาคีที่เข้าร่วมกลุ่ม พื้นที่ได้นำแผนการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่นำเสนอช่วงระยะเวลาในการดำเนินงานแก่ หน่วยงานภาคีและพื้นที่ในประเด็นอาหารปลอดด้วยกัน เพื่อการเชื่อมประสานการดำเนินงาน การสนับสนุน การหนุมเสริม ในเรื่องการร่วมมือพื้นที่ประเด็นอาหารปลอดภัย หน่วยงานภาคี ได้แนะนำการวางแนวทางการดำเนินที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์อาหารปลอดภัย นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคีที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ประเด็นทรัพยากร 2. ประเด็นสิ่งแวดล้อม 3. ประเด็นอาหารปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 3 คน เชื่อมกิจกรรมกับภาคียุทธศาสตร์เกษตรตำบล เกษตรอำเภอ และเกษตรจังหวัด เชื่อมร้อยกิจกรรมกับภาคีสาธารณสุข สาธารณสุขอำเภอ และสาธารณสุขจังหวัด

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนอนุรักษ์คลองนาโอ่มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนมีความรู้และความตระหนักในการอนุรักษ์คลอง ร้อยละ 80 2. มีคณะทำงานเกิดตัวแทนหลากหลาย และมีการแบ่งบทบาทสามารถจัดการและอนุรักษ์คลองได้เหมาะสม 3. มีข้อมูลและแผนการขับเคลื่อนการทำงานจัดการและอนุรักษ์คลอง 4. คณะทำงานติดตามเฝ้าระวังฟื้นฟูและอนุรักษ์คลองได้ 5. มีการขับเคลื่อนกติกา/ข้อตกลง ปฎิญญาร่มเมืองอนุรักษ์คลอง ยกระดับเป็นธรรมนูญ
20.00

ภาคีหน่วยงาน องค์กรในชุมชน ต่างให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนมากขึ้น เช่น โรงเรียนจะให้นักเรียนเข้ามาเรียนรู้และทำกิจกรรมของโครงการด้วยทุกครั้ง - หน่วยบริการสุขภาพในชุมชนทั้ง 2 แห่ง ต่างช่วยให้ข้อมูลการเชื่อมโยงของการมีสุขภาพที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่มาจากธรรมชาติ เช่น อากาศดีทีมีต้นไม้ คุณภาพน้ำที่ดีถ้าทุกคนดูแลความสะอาดบริเวณโดยรอบแหล่งน้ำ แหล่งเพาะพันธุ์โรดไม่มีถ้าทุกคนไม่ทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง โดยใช้ อสม.เข้ามาไปกระบอกเสียง

2 เพื่อให้คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิตยกระดับสู่ต้นแบบ
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนมีส่วนร่วมอนุรักษ์คลองเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 100 คน 2. มีคุณภาพน้ำดีขึ้น มีค่าความเป็นกรดด่างและค่าออกซิเจนละลายในน้ำดีขึ้น 3. มีต้นไม้เพิ่มขึ้นตามแนวริมคลองระยะทาง 1 กิโลเมตร 4. มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นความสูง 2 เมตรระยะทางอย่างน้อย 1 กม.และมีการใช้ประโยชน์น้ำเพิ่มขึ้น 5. มีความหลากหลายของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น มากกว่า 10 ชนิด 6. มีพืชอาหารเพิ่มขึ้น มากกว่า 20 ชนิด
100.00 0.00
  • ส่งเสริมการอนุรกษ์ในพื้นที่สาธารณะและระดมคนเชื่อมโยงงานวัฒนธรรม ความเชื่อทำให้เกิดพลังความร่วมมือ เกิดความผูกพันธ์เพิ่มขึ้น
  • ฝายมีชีวิต น้ำคือชีวิต คนมีความรู้ เกิดปัญญามองและวางแผนการบริหารจัดการรอบคอบและรอบด้านคำนึงถึงผลกระทบด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตคน ทำให้สามารถจัดการดูแลทรัพยากรน้ำ/ลุ่มน้ำย่อยสาขาของตนได้ โดยเน้นการมีส่วนร่วมชุมชนและภาคีความร่วมมือทุกภาคส่วน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครัวเรือนท่ี่มีพื้นท่ี่หัวสวน 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนอนุรักษ์คลองนาโอ่มีความเข้มแข็ง (2) เพื่อให้คลองนาโอได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้มีชีวิตยกระดับสู่ต้นแบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 1 (2) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่1 (3) ปฐมนิเทศโครงการ NFS จังหวัดพัทลุง (4) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 2 (5) เวทีทำความเข้าใจโครงการ (6) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่ 1 (7) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่3 (8) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่2 (9) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่3 (10) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่4 (11) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่4 (12) ค่าตอบแทนในการจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (13) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่5 (14) กิจกรรมเวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย (15) กิจกรรมส่งตรวจเอกสารการเงินร่วมกับหน่วยงวดที่1 (16) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่5 (17) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 6 (18) ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 1 (19) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่6 (20) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 7 (21) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่ึ7 (22) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 8 (23) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ  ครั้งที่8 (24) ประชุมคณะทำงานคลอง  ครั้งที่ 9 (25) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอครั้งที่9 (26) ประชุมคณะทำงานคลอง ครั้งที่ 10 (27) ปรับปรุงข้อมูลคลองและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการจัดการและอนุรักษ์คลอง ครั้งที่ 2 (28) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 1 (29) สร้างความสมบูรณ์ รณรงค์การฟื้นฟู อนุรักษ์ เฝ้าระวัง คลองนาโอ ครั้งที่10 (30) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่2 (31) จัดทำป้าย (32) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่ 3 (33) กิจกรรมเวทีติดตามประเมินผล เพื่อทำการเรียนรู้และพัฒนาร่วมกับหน่วยงาน (34) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่่ 2 (35) โรงเรียนพันธ์ไม้ (เพาะพันธุ์กล้าไม้และครูต้นไม้)  ครั้งที่ 3 (36) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (37) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่4 (38) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่5 (39) ฝายมีชีวิต(ออกแบบฝายใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เวทีประชาร่วมใจ)ครั้งที่6 (40) ผ้าป่าต้นไม้(เวทีสรุปบทเรียนและนำเสนอข้อมูลต่อชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) (41) จัดทำชุดนิทรรศการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อนุรักษ์คลองนาโอ่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63001690009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประพาส แก้วจำรัส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด