Node Flagship

directions_run

พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน ซาและ

ชื่อโครงการ พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ ุ63-00175-0007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการทำงานโดยคณะกรรมการ คปถ.อำเภอที่เข้มแข็ง (2) เพื่อลดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอรามัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 8 ประชุมเฝ้าระวังอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อน (2) กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู (3) กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน (4) กิจกรรมที่ 9 อบรมช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน (5) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงานการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุอำเภอรามัน ส่งเสริมการวิเคราะห์ปัญหาอุบัติเหตุในพื้นที่โดยใช้แผนภูมิต้นไม้ (6) กิจกรรมที่ 4 ขับเคลื่อนการดำเนินงานด่านชุมชนและการดำเนินงานองค์กรมาตรการความปลอดภัย (7) กิจกรรมที่ 7 สื่อรณรงค์การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน (8) กิจกรรมเข้าร่วมเวทีประชุมโครงการย่อย ระดับจังหวัด (9) กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ (10) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง (11) กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดหารเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู (12) ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (13) ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 และสอบสวน/ทบทวนกรณีอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต (14) ครั้งที่ 3 ประชุมข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2 (15) ครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (16) จัดอบรม เรื่องการเกิดอุบัติเหตุและแนวทางการป้องกันและแก้ไข (17) อบรมการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนให้กับประชาชนในพื้นที่ หมู่ละ 1 คน จำนวน 90 คน (18) ให้ความรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมบนท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อนและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดการแก้ไขน้ำยางราดบนถนนและสภาพแวดล้อมตลาดนัดริมถนนม (19) ให้ความรู้ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานการป้องกันอุบัติเหตุแต่ละตำบล (20) รณรงค์สื่อเทศกาล รายออิดิลอัดฮา เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ (21) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย (22) เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้พัฒนา (are) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (node flagship) ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 (23) เวทีติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 (24) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ ให้แก่นักเรียนและชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากองค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นปัญหาอุบัติเหตุทางท้องถนนว่าเป็นปัญหาสำคัญและเป็นสาเหตุของการสูญเสีย บาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชน จึงได้มีมติร่วมกันให้เป็นวาระสำคัญที่ทุกประเทศจะต้องเร่งดำเนินการแก้ไข โดยประกาศเป็น “ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” (Decade of Action for Road Safety : 2011-2020) โดยตั้งเป้าลดผู้เสียชีวิตลงครึ่งหนึ่งในทศวรรษหน้า ประเทศไทยตอบรับปฏิญญาดังกล่าวโดยรัฐบาลไทยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2556 ประกาศให้ปี 2554-2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนโดยบูรณาการการดำเนินการจากหน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นรณรงค์ลดอุบัติเหตุและแก้ไขปัญหาดังกล่าว และตั้งเป้าหมายที่จะลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือไม่เกิน 10 คนต่อประชากรแสนคนภายในปี 2563 ทั้งนี้จากสภาพปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนเป็นสาเหตุที่ทำให้มีผู้บาดเจ็บอยู่ในอันดับต้นๆของประเทศ ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาแม้ว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐหายุทธการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในหลายๆรูปแบบ แต่ยังไม่สามารถลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุลงได้ ทั้งนี้ปัญหาอุบัติเหตุมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งถนนในชุมชน โดยมีสาเหตุมาจากการขับขี่ด้วยความเร็ว ผู้ขับขี่ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย และมีจุดเสี่ยงที่มักเกิดอุบัติเหตุในชุมชน จากสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุของอำเภอรามัน สาเหตุหลักในการเกิดอุบัติเหตุ จากปัจจัยด้านคน โดยมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่และผู้ใช้เส้นทาง ความประมาท ความสามารถของผู้ขับขี่ลดลงเนื่องจากสภาพร่างกายไม่พร้อม รวมถึงการไม่ชำนาญเส้นทาง การไม่เคารพกฎจราจร ขาดวินัยในการใช้รถใช้ถนนร่วมกันและการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัย ด้านยานพาหนะ ยังพบว่าขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ความปลอดภัย    การปรับแต่งสภาพยานพาหนะและการบรรทุกหรือโดยสารที่ไม่ปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อมพบว่าจุดเสี่ยง    จุดอันตราย จุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยยังไม่ได้รับการแก้ไข ลักษณะทางกายภาพของถนนไม่สมบูรณ์ อาทิ ผิวถนน เป็นหลุม บ่อ และถนนอยู่ระหว่างก่อสร้างหรือซ่อมแซม รวมถึงอุปสรรคทางธรรมชาติและลักษณะภูมิอากาศ
ในด้านกลไก ศปถ.อำเภอยังไม่เข้มแข็ง ข้อมูลUnder reportจาก ปัจจัยต่างๆข้างต้นการเกิดอุบัติเหตุทางถนน ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ประสบภัยโดยก่อให้เกิดภาวะเครียดและวิตกกังวล บาดเจ็บ จนกระทั่งการเสียชีวิต ไม่เพียงเท่านั้นยังก่อให้เกิดความสูญเสียต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมอย่างมหาศาล เพราะการเสียชีวิตจากและบาดเจ็บทั้งทางกายและใจจากอุบัติเหตุทางท้องถนน ทำให้ผู้ประสบภัยและครอบครัวสูญเสียผลิตภาพ เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาตัว ติดหนี้ ขาดรายได้ในการประกอบอาชีพ รวมถึงทางสังคมที่ส่งผลให้เกิดการทะเลาะวิวาท เกิดข้อพิพาทกับคู่กรณี และอุบัติเหตุยังก่อให้เกิดต้นทุนอื่นๆ เช่น ต้นทุนในการดำเนินคดี ต้นทุนจากผลกระทบต่อสภาพการจราจร ป้ายบอกทางชำรุด เสาไฟฟ้าหรือสัญญาณไปชำรุด บ้านเรือนเสียหาย เป็นต้น ดังนั้นทางอำเภอ มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุมของกลไก การลดอุบัติเหตุการใช้รถที่เพิ่มมากขึ้น และแก้ไขเรื่องข้อมูลUnder report จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางท้องถนนอำเภอรามัน โดยให้มีระบบกลไกการป้องกันอุบัติเหตุทั้งระดับอำเภอและตำบล การจัดระเบียบการจราจรในชุมชน และเกิดการแก้ไขจุดเสี่ยงของชุมชนที่เกิดอุบัติเหตุ รวมถึงมีการปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขพฤติกรรมที่สัมพันธ์เสี่ยง เพื่อเป็นการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอรามันอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการทำงานโดยคณะกรรมการ คปถ.อำเภอที่เข้มแข็ง
  2. เพื่อลดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอรามัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 8 ประชุมเฝ้าระวังอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อน
  2. กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู
  3. กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน
  4. กิจกรรมที่ 9 อบรมช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน
  5. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงานการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุอำเภอรามัน ส่งเสริมการวิเคราะห์ปัญหาอุบัติเหตุในพื้นที่โดยใช้แผนภูมิต้นไม้
  6. กิจกรรมที่ 4 ขับเคลื่อนการดำเนินงานด่านชุมชนและการดำเนินงานองค์กรมาตรการความปลอดภัย
  7. กิจกรรมที่ 7 สื่อรณรงค์การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
  8. กิจกรรมเข้าร่วมเวทีประชุมโครงการย่อย ระดับจังหวัด
  9. กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ
  10. กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป
  11. ทำป้ายไวนิลโครงการพัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน
  12. การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และไวนิลแสดงบันไดผลลัพธ์
  13. กิจกรรมที่ 8 ให้ความรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมบนท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อนและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดการแก้ไขน้ำยางราดบนถนนและสภาพแวดล้อมตลาดนัดริมถนนม
  14. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย
  15. ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  16. ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 และสอบสวน/ทบทวนกรณีอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต
  17. เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้พัฒนา (are) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (node flagship) ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1
  18. จัดสถานที่เพื่อดำเนินโครงการอบรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน
  19. กิจกรรมที่ 9 อบรมการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนให้กับประชาชนในพื้นที่ หมู่ละ 1 คน จำนวน 90 คน
  20. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม เรื่องการเกิดอุบัติเหตุและแนวทางการป้องกันและแก้ไข
  21. กิจกรรมที่ 7 รณรงค์สื่อเทศกาล รายออิดิลอัดฮา เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์
  22. กิจกรรมที่ 4 ให้ความรู้ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานการป้องกันอุบัติเหตุแต่ละตำบล
  23. กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู
  24. ครั้งที่ 3 ประชุมข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2
  25. เวทีติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2
  26. ครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
  27. กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ ให้แก่นักเรียนและชุมชน
  28. กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงานโครงการและผู้เข้าร่วมโครงการ 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อน คปถ.อำเภอที่เข้มแข็ง 2.สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงาน คปถ.ตำบล 3.สภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้รับการแก้ไข 4.เกิดกลไกเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางท้องถนน 5.อุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และไวนิลแสดงบันไดผลลัพธ์

วันที่ 5 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการโดยเป็นไปตามข้อกำหนดของ สสส  จำนวน 1 ผื่น บันไดผลลัพธ์โครงการ จำนวน 1 ผื่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการและบันไดผลลัพธ์โครงการ ขนาด 2 x 1 เมตร จำนวน 2 ป้าย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรับทราบและเข้าใจโครงการ ใช้สำหรับการทบทวนในการประชุม หรือจัดกิจกรรมต่างๆ

 

1 0

2. กิจกรรมที่ 8 ให้ความรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมบนท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อนและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดการแก้ไขน้ำยางราดบนถนนและสภาพแวดล้อมตลาดนัดริมถนนม

วันที่ 22 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้เกี่ยวกับรถบรรจุยางก้อนถ้วย
  • ให้แนวทางในการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีความเข้าใจเกี่ยวกับขับขี่รถบรรจุยางก้อนถ้วย
  • สามารถทำให้ทราบแนวทางในการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ

 

40 0

3. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความเข้าใจในการรายงานผลลัพท์ของโครงการ

 

2 0

4. ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมได้รับทราบ -ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน -แบ่งบทบาทหน้าที่ -พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

 

5 0

5. ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 และสอบสวน/ทบทวนกรณีอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • สรุปผลการดำเนินงานที่ได้มอบหมายไป
  • สอบสวน/ทบทวนอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต
  • มีการติดตามครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ที่ประชุมได้รับทราบผลการดำเนินงานที่ได้มอบหมายไป
  • สอบสวน/ทบทวนอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต
  • มีการติดตามครั้งต่อไป

 

40 0

6. เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้พัฒนา (are) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (node flagship) ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1

วันที่ 24 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • หน่วยจัดการฯ ชี้แจ้งวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ชี้เน้นตามบันไดผลลัพธ์
  • แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
  • ARE ตามประเด็นยุทธศาสตร์
  • นำเสนอ PPT ของโรงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้และแลกปลี่ยนประเด็นต่างๆของโครงการย่อย

 

3 0

7. จัดสถานที่เพื่อดำเนินโครงการอบรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดสถานที่ให้มีความเรียบร้อย
  • ทำความสะอาดสถานที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้อาคารสถานที่ในการจัดอบรมมีความสะอาดและสะดวกในการจัดกิจกรรมครั้งนี้

 

1 0

8. กิจกรรมที่ 9 อบรมการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนให้กับประชาชนในพื้นที่ หมู่ละ 1 คน จำนวน 90 คน

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมทฤษฎีการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
  • สาธิตวิธีการให้ความช่วยเหลือเมื่อมีผู้ประสบอุบัติเหตุเบื้องหน้า
  • ให้ปฏิบัติ ลงมือด้วยตัวเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับความรู้แนวทางการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ
  • ได้เห็นวิธีการสาธิตการให้ความช่วยเหลือ
  • ได้ปฏิบัติและลงมือทำ ทำให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจวิธีการมากขึ้น

 

90 0

9. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม เรื่องการเกิดอุบัติเหตุและแนวทางการป้องกันและแก้ไข ส่งเสริมวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้แผนภูมิต้นไม้

วันที่ 2 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • เรียนรู้การบูรณาการทำงานร่วมกันและเน้นให้คณะทำงานร่วมกันวางแผนเพื่อขับเคลื่อนการป้องกันอุบัติเหตุ
  • เรียนรู้เทคนิคการดำเนินงานเพื่อสร้างเครือข่าย
  • เรียนรู้ถึงบทเรียนที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้เรียนรู้การบูรณาการทำงานร่วมกันและเน้นให้คณะทำงานร่วมกันวางแผนเพื่อขับเคลื่อนการป้องกันอุบัติเหตุ
  • ได้เรียนรู้เทคนิคการดำเนินงานเพื่อสร้างเครือข่าย
  • ได้เรียนรู้ถึงบทเรียนที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน

 

70 0

10. กิจกรรมที่ 7 รณรงค์สื่อเทศกาล รายออิดิลอัดฮา เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์

วันที่ 21 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ติดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ตามร้านค้า ศาสนสถาน
  • ติดตั้งป้ายขนาดใหญ่ ข้างๆถนนใหญ่
  • แผ่นพับแจกช่วงเทศกาลต่างๆ เทศกาลละ 2000 ใบ 3 เทศกาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ ในการขับขี่รถอย่างปลอดภัยมากขึ้น

 

0 0

11. กิจกรรมที่ 4 ให้ความรู้ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานการป้องกันอุบัติเหตุแต่ละตำบล

วันที่ 28 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • แนะแนวให้ความรู้การดำเนินงานมาตรการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
  • ให้ขับเคลื่อนการดำเนินงานด่านชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ความรู้การดำเนินงานมาตรการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
  • มีการขับเคลื่อนการตั้ังจุดตรวจ/จุดสกัดด่านชุมชน

 

70 0

12. กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู

วันที่ 4 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • สรุปเคสที่ได้เกิดอุบัติเหตุมาแล้ว
  • สรุปผลการดำเนินการเรื่องถนน ของเทศบาลโกตาบารู
  • ลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับรู้ถึงเคสที่ได้เกิดอุบัติเหตุมาแล้ว
  • ได้บทสรุปผลการดำเนินการเรื่องถนน ของเทศบาลโกตาบารู
  • ลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุร่วมกัน

 

70 0

13. ครั้งที่ 3 ประชุมข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2

วันที่ 7 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • สรุปผลการดำเนินงานและติดตามครั้งที่ 2
  • ทบทวนกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้รับทราบสรุปผลการดำเนินงานและติดตามครั้งที่ 2
  • ได้ทบทวนกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต

 

40 0

14. เวทีติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • รับฟังความคืบหน้าการนำเสนอผลลัพธ์ตามบันไดผลลัพธ์ ของแต่ละโครงการย่อย ที่ได้ดำเนินงานที่ผ่านมา
  • มีการแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางและแผนการพัฒนา Model ตามประเด็นสู่การขยายผลในระดับจังหวัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ร่วมรับฟังความคืบหน้าการนำเสนอผลลัพธ์ตามบันไดผลลัพธ์ ของแต่ละโครงการย่อย ที่ได้ดำเนินงานที่ผ่านมา
  • มีการแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ได้รับการแลกเปลี่ยนแนวทางและแผนการพัฒนา Model ตามประเด็นสู่การขยายผลในระดับจังหวัด

 

2 0

15. ครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • สรุปผลการดำเนินงานและติดตามครั้งที่ 3
  • ทบทวนกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเสียชีวิตที่ผ่านมาทั้งหมด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ให้ได้รับทราบการดำเนินงานโครงการและติดตามครั้งที่ 3
  • ได้รับทราบการทบทวนกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเสียชีวิตที่ผ่านมาทั้งหมด

 

40 0

16. กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ ให้แก่นักเรียนและชุมชน

วันที่ 15 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดกิจกรรมในลักษณะเป็นนิทรรศการ/ออกบูธ จำนวน 5 บูธ   - การปฐมพยาบาลเบื้องต้น   - การขับเคลื่อนองค์กรมาตรการอุบัติเหตุทางถนน   - กฎหมายจราจร   - บทบาทหน้าที่ของหมวดทางหลวง   - ให้ความรู้เกี่ยวกับ พรบ.การคุ้มครองประกันภัยจากรถ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมในลักษณะเป็นนิทรรศการ/ออกบูธ ดังนี้   - การปฐมพยาบาลเบื้องต้น   - การขับเคลื่อนองค์กรมาตรการอุบัติเหตุทางถนน   - กฎหมายจราจร   - บทบาทหน้าที่ของหมวดทางหลวง   - ความรู้เกี่ยวกับ พรบ.การคุ้มครองประกันภัยจากรถ

 

70 0

17. กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 28 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.นำเสนอการดำเนินงาน ศปถ.อำเภอ ในช่วงที่ผ่านมา 2.นำเสนอสถิติการเกิดอุบัติเหตุตลอดปี 3.นำเสนอตัวอย่างผลการดำเนินงานการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนตำบลโกตาบารู 4.กระตุ้น ศปถ.ตำบล ให้ขับเคลื่อนการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้รับรู้การดำเนินงาน ศปถ.อำเภอ ในช่วงที่ผ่านมา 2.ได้รับรู้สถิติการเกิดอุบัติเหตุตลอดปี 3.ได้เห็นตัวอย่างผลการดำเนินงานการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนตำบลโกตาบารู 4.กระตุ้น ศปถ.ตำบล ให้ขับเคลื่อนการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ต่อไป

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการทำงานโดยคณะกรรมการ คปถ.อำเภอที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ศปถ.อำเภอมีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น
1.00 0.00

 

2 เพื่อลดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอรามัน
ตัวชี้วัด : การเกิดอุบัติเหตุทางถนนมีจำนวนลดน้อยลง
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานโครงการและผู้เข้าร่วมโครงการ 70 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการทำงานโดยคณะกรรมการ คปถ.อำเภอที่เข้มแข็ง (2) เพื่อลดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอรามัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 8 ประชุมเฝ้าระวังอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อน (2) กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู (3) กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน (4) กิจกรรมที่ 9 อบรมช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน (5) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงานการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุอำเภอรามัน ส่งเสริมการวิเคราะห์ปัญหาอุบัติเหตุในพื้นที่โดยใช้แผนภูมิต้นไม้ (6) กิจกรรมที่ 4 ขับเคลื่อนการดำเนินงานด่านชุมชนและการดำเนินงานองค์กรมาตรการความปลอดภัย (7) กิจกรรมที่ 7 สื่อรณรงค์การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน (8) กิจกรรมเข้าร่วมเวทีประชุมโครงการย่อย ระดับจังหวัด (9) กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ (10) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง (11) กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางดำเนินงานตำบลป้องกันและลดหารเกิดอุบัติเหตุตำบลโกตาบารู (12) ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (13) ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 และสอบสวน/ทบทวนกรณีอุบัติเหตุหรือเสียชีวิต (14) ครั้งที่ 3 ประชุมข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2 (15) ครั้งที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ (16) จัดอบรม เรื่องการเกิดอุบัติเหตุและแนวทางการป้องกันและแก้ไข (17) อบรมการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนให้กับประชาชนในพื้นที่ หมู่ละ 1 คน จำนวน 90 คน (18) ให้ความรู้แนวทางการเฝ้าระวังป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากสภาพแวดล้อมบนท้องถนนกับผู้ประกอบการยางก้อนและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดการแก้ไขน้ำยางราดบนถนนและสภาพแวดล้อมตลาดนัดริมถนนม (19) ให้ความรู้ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานการป้องกันอุบัติเหตุแต่ละตำบล (20) รณรงค์สื่อเทศกาล รายออิดิลอัดฮา เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ (21) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพท์ของโครงการย่อย (22) เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้พัฒนา (are) ของหน่วยจัดการระดับที่มีจุดเน้นสำคัญ (node flagship) ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 (23) เวทีติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 (24) จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจข้อมูลอุบัติเหตุ ให้แก่นักเรียนและชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาระบบป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอรามัน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ ุ63-00175-0007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมาน ซาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด