Node Flagship

directions_run

พัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนระดับตำบล โดยกระบวนการมีส่วนร่วม

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแผนระบบ เครื่องมือ พัฒนาศักยภาพในการป้องกันลดอุบัติเหตุทางถนนในระดับตำบล (2) เพื่อนำกลไกใช้ในการการปฏิบัติขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุทางถนนในระดับตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ 1  พัฒนาศักยภาพ (2) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพและจัดประชุมคณะทำงาน เพื่อสร้างกลไกในการปฏิบัติงาน (3) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพให้ความรู้ผู้นำ ด้านกฏหมายจราจร คูณธรรมจริยธรรมการใช่รถใช้ถนนในสาธารณะ (4) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 3 การลงพื้นที่สำรวจปัจจัยที่มีความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนระดับตำบล ด้านคน ด้านยานพาหานะ ด้านถนน ด้านสิ่งแวดล้อม (5) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 4 อบรมกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง และจัดทำป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การป้องกันลดอุบัติเหตุทางถนน (6) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการแก้ไขปัญหา ควบคุม การเฝ้าระวังทำความสะอาด ลดความเสี่ยงและสภาพแวดล้อมบนถนน และติดตามความคืบหน้าขับเคลื่อนกิจกรรม (7) ส่วนที่ 2 กิจกรรมที่ 6 สรุปประเมินขับเคลื่อนกิจกรรม (8) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการ (9) จัดทำป้ายไวนิลโครงการ และป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ (10) การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (11) ทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อยฯ (12) การประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 และ ARE ครั้งที่ 1 (13) ร่วมเวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ (ARE-Node) ครั้งที่1 (14) การประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (15) อบรมพัฒนาศักยภาพ การใช้กฏหมายจราจร คุณธรรมจริยธรรมการใช้รถใช้ถนนสาธารณะ (16) กิจกรรมจัดทำป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์การใช้กติกา ข้อตกลงการใช้รถใช้ถนน และจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดระวัง หรือป้ายเตือนต่างๆที่ลดอบัติเหตุทางถนน (17) กิจกรรมการปฏิบัติเฝ้าระวังในวันหยุด หรือเทศกาล และสถานที่จุดเสี่ยงมีการใช้รถใช้ถนน (18) กิจกรรมการร่วมปฏิบัติการ Big cleaning ถนน (19) อบรมพัฒนาศักยภาพ การใช้กฏหมายจราจร คุณธรรมจริยธรรมการใช้รถใช้ถนนสาธารณะ (เด็กนักเรียน) (20) การประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 และ ARE ครั้งที่ 2 (21) อบรมพัฒนาศักยภาพ การใช้กฏหมายจราจร คุณธรรมจริยธรรมการใช้รถใช้ถนนสาธารณะ (ผู้ปกครอง) (22) อบรมพัฒนาศักยภาพ การใช้กฏหมายจราจร คุณธรรมจริยธรรมการใช้รถใช้ถนนสาธารณะ (ตัวแทนร้านค้า กลุ่มสตรี) (23) อบรมพัฒนาศักยภาพ การใช้กฏหมายจราจร คุณธรรมจริยธรรมการใช้รถใช้ถนนสาธารณะ (เด็กและเยาวชน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ