directions_run

สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายฅนสร้างสุข


“ สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม ”

จังหวัดภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
นายอิลฟาน ตอแลมา

ชื่อโครงการ สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม

ที่อยู่ จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 60-ข-068

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายฅนสร้างสุข ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม



บทคัดย่อ

โครงการ " สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดภาคใต้ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เครือข่ายฅนสร้างสุข เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  • สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง แม้หน่วยงานทางความมั่นคงจะเตรียมความพร้อมและรักษาสถานการณ์ไม่ให้รุนแรงมากขึ้น แต่ผลกระทบที่เกิดจากสถานการณ์ เช่น ความสูญเสียชีวิต ทรัพย์สิน และที่สำคัญกระทบต่อระบบสุขภาพในภาพรวม และกระทบต่อวิถีชีวิตในการจะอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และผลกระทบในบางด้านไม่สามารถที่จะประเมินได้ด้วยตัวเลข เช่น ความศรัทธาต่อศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม หรือวิถีอันดีงาม เช่นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างคนต่างศาสนา ต่างวัฒนธรรมเป็นต้น
  • การขับเคลื่อนเพื่อให้สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าสู่สภาวะปกติที่ผ่านมา หลายๆหน่วยงานมีความพยายาม และให้ความร่วมมือ แต่ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจมากนัก แต่ช่องทางที่สามารถขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรมและมีความคล่องตัวมากที่สุดคือ การใช้กลไกด้านสุขภาพ เป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดความสันติ และยังจะเป็นการเสริมสร้างให้เกิดสุขภาวะที่ให้ความสำคัญกับปัจจัยทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกคนในชุมชน และทุกหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
  • การขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะชายแดนภาคใต้ที่ผ่านมา ยังขยับได้ไม่ตามเป้าหมาย อันมีปัจจัยที่เป็นอุปสรรค เช่น 1) กรอบของเวลาที่จำกัดและหาช่วงจังหวัดในการนัดพูดคุย จัดเวทีมีน้อย 2) ประเด็นการขับเคลื่อนกว้างจนทำให้ผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมมีมุมมองแตกต่าง ลำบากในการจัดรวบรวมและขยายความ 3) แนวร่วมในการขับเคลื่อนมีขีดจำกัด และไม่มีการขยายพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ในปี พ.ศ. 2555-2556 สภาประชาสังคมชายแดนใต้ ได้จัดสมัชชาปฏิรูปเฉพาะประเด็น 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและประชาชนทุกภาคส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้อย่างมีทิศทางและเป็นรูปธรรม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้อย่างยั่งยืนมุ่งเน้นการขับเคลื่อน ๒ ประเด็นหลัก คือ ประเด็นยุติธรรมสมานฉันท์ และประเด็นการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ ที่เกิดจากการขับเคลื่อนงานของสภาประชาสังคมฯ ซึ่งเป็นการผนึกกำลังกันเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและมาตรการในการแก้ปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ขององค์กรประชาสังคมและองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีถิ่นฐานที่ตั้งและภารกิจงานส่งเสริมและพัฒนาสังคมชายแดนใต้อย่างถาวร
  • อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามข้อเสนอฯ ทั้ง 6 ประเด็นไปได้ในระดับหนึ่ง แต่สถานการณ์ประกอบการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จึงทำให้ต้องมีการติดตาม ทบทวน และพัฒนาข้อเสนอฯ ให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นรูปธรรมและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและประเทศชาติต่อไป
    ในปี พ.ศ. 2558-2559 สภาประชาสังคมชายแดนใต้ร่วมกับเครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัด สจรส.มอ. และ สช. ร่วมจัดทำโครงการติดตามและขับเคลื่อนระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมและการเสริมสร้างกระบวนการสันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการจัดให้มีกระบวนการติดตามความก้าวหน้าและขับเคลื่อนระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม และการเสริมสร้างกระบวนการสันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเพื่อสร้างการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายพร้อมสร้างความเข้มแข็งแก่องค์กรและสังคมชายแดนใต้ ซึ่งมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ต่อกระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพและการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้กระบวนการเสริมศักยภาพของสภาฯ และผลักดันประเด็นสำคัญ และ ได้ร่วมกันวางแนวทางการทบทวนมติสมัชชาสุขภาพฯ เพื่อเสนอเข้าสู่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 10 โดยการทบทวนและพัฒนาข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่เป็นภาคผนวกแนบท้ายมติ จัดรับฟังความเห็นและนำเสนอในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 9 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในส่วนกลาง และเป็นการสร้างกระแสความตื่นตัวของสาธารณะ และสมาชิกสมัชชาสุขภาพทั่วประเทศ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อติดตามมติข้อเสนอการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
  2. เพื่อขยายและต่อยอดพื้นที่การนจัดกระบวนการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้
  3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ถอดบทเรียนครั้งที่ 1
  2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  3. ถอดบทเรียนครั้งที่ 2
  4. สังเคราะห์งานการแพทย์พหุวัฒนธรรม
  5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อทบทวนประเด็นข้อเสนอครั้งที่ 1

วันที่ 30 ธันวาคม 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑.ชี้แจงที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ๒.ทบทวนข้อเสนอที่ผ่านมา (ปี ๒๕๕๑ และ ปี ๒๕๕๙) ๓.วางกรอบในการขับเคลื่อนต่อในปี ๖๑ ๔.มอบหมายภาระกิจงาน คือ
    -งานด้านวิชาการเพื่อการจัดทำร่างข้อเสนอ (ทีมวิชาการ ดร.พาตีเมาะ นายอิลฟาน)     -งานด้านการประสานเครือข่ายในระดับจังหวัด (ทีมประสานจังหวัดยะลา คุณรอซีดี , จังหวัดนรา คุณมะยูนันและคุณอัสรี,จังหวัดปัตตานี คุณสัญญาและคุณปิยะจิตต์)     -งานด้านการจัดเวทีรับฟัง คุณรอซีดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -งานด้านวิชาการเพื่อการจัดทำร่างข้อเสนอ (ทีมวิชาการ ดร.พาตีเมาะ นายอิลฟาน) ทีมวิชาการได้จัดทำเนื้อหา ที่มา การทบทวบ และสถานการณ์ปัญหาให้เสร็จสิ้นภายในเดือนมกราคม และมอบให้ทีมต่อไปได้ศึกษาเพื่อจัดทำเวทีในเดือนกุมภาพันธ์    

 

10 8

2. ถอดบทเรียนครั้งที่ 1

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

15 15

3. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

10 10

4. ถอดบทเรียนครั้งที่ 2

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

15 30

5. สังเคราะห์งานการแพทย์พหุวัฒนธรรม

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

2 2

6. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 13 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

10 13

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อติดตามมติข้อเสนอการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วัด : ทราบผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (รายงานผล)

 

2 เพื่อขยายและต่อยอดพื้นที่การนจัดกระบวนการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วัด : มีองค์กรร่วมในการขับเคลื่อนอย่างน้อย 10 องค์กรและมีพื้นที่(หน่วยบริการสุขภาพ)นำร่องจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง

 

3 เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วัด : หน่วยบริการสุขภาพได้นำประเด็นข้อเสนอไปขับเคลื่อนและนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อติดตามมติข้อเสนอการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อขยายและต่อยอดพื้นที่การนจัดกระบวนการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ถอดบทเรียนครั้งที่ 1 (2) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (3) ถอดบทเรียนครั้งที่ 2 (4) สังเคราะห์งานการแพทย์พหุวัฒนธรรม (5) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สันติสุขภาวะชายแดนใต้ และการแพทย์พหุวัฒนธรรม จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิลฟาน ตอแลมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด