แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายฅนสร้างสุข


“ ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ”

จังหวัดภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
นายฮาริส มาศชาย

ชื่อโครงการ ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว

ที่อยู่ จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 60-ข-067 เลขที่ข้อตกลง 60-ข-067

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายฅนสร้างสุข ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดภาคใต้ รหัสโครงการ 60-ข-067 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เครือข่ายฅนสร้างสุข เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  • สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซับซ้อนมากขึ้น ได้สร้างผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คน รวมถึงเด็ก-เยาวชนเป็นอย่างมาก เนื่องจากระบบครอบครัว ระบบการศึกษา กระบวนการการเรียนรู้และถ่ายทอดทางสังคมแบบในอดีตก้าวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เด็กและเยาวชนไทยขณะนี้กำลังเผชิญกับความเสี่ยงมากมาย อันเกิดจากสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็ก ทำให้เด็กและเยาวชนจำนวนมากซึมซับพฤติกรรมความรุนแรง สื่อลามกอนาจาร เสพยาเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อยู่ในแหล่งมั่วสุมและอื่น ๆ จนพฤติกรรมเหล่านี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตร่วมสมัยของเด็กและเยาวชนที่เติบโตขึ้น ทุกวันในโครงการศึกษาวิจัยศักยภาพท้องถิ่นในการพัฒนาและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พบว่า ปัญหาสำคัญที่จำเป็นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน ดังนี้
  1. พัฒนาการเด็ก

- ทุพโภชนาการ - การส่งเสริมการอ่าน 2. ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
- การบริโภคสื่อ / เท่าทันสื่อโฆษณา / นักสื่อสารสร้างสรรค์ / สื่อศิลปวัฒนธรรม 3. พลเมืองตื่นรู้ Active citizen - พฤติกรรม 4. ปัจจัยเสี่ยง - แอลกอฮอล์ / บุหรี่ / ยาเสพติด - ท้องไม่พร้อม - ภาวะโภชนาการ - การค้ามนุษย์ / การพนัน 5. สิทธิเด็ก - การอยู่รอด / ได้รับการศึกษา / ที่อยู่อาศัย / การละเมิดสิทธิ์ / ความเหลื่อมล้ำ /สวัสดิการ 6. เยาวชนกับความรุนแรง - สันติภาพ 7. การศึกษา -คุณภาพ / การเข้าถึงการศึกษา 8. พื้นที่สร้างสรรค์ - พื้นที่เรียนรู้ / พื้นที่เล่น

  • ในปี 2558 ของการจัดงานสร้างสุขครั้งที่ 8 มีห้องย่อยความมั่นคงของมนุษย์ประเด็นเด็กและเยาวชน ได้นำเสนอการดำเนินงานขับเคลื่อนในกลุ่มเด็กรุ่นใหม่ภาคใต้ โดยใช้ชื่อหัวข้อ “ความหวัง...ความสุข เด็กใต้บ้านเรา” ได้เห็นภาพกลุ่มเด็กเยาวชนของจังหวะก้าวความมั่นคงของมนุษย์ ด้านเด็กเยาวชนและครอบครัว ว่ามีภาคีใดบ้าง ทำอะไร อยู่ที่ไหน มีการดำเนินงานอย่างไร สู่การเชื่อมสัมพันธ์ การเชื่อมพื้นที่ การเชื่อมคน และการเชื่อมงานของคนรุ่นใหม่ภาคใต้ สู่ความหวังความสุขเด็กใต้บ้านเรา
  • ในปี 2559 จากแนวคิด หัวข้อ เด็กใต้สร้างสุข สู่การขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดข้อเสนอและนโยบายกับหลายองค์กร เช่น สช. สปสช. พม. สธ. ThaiPBS /สสวท. สสส.ทั้งนี้ เพื่อเรียนรู้สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซับซ้อนมากขึ้น ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คน รวมถึงเด็ก-เยาวชน และครอบครัว เพื่อสร้างกลไกระดับภาคใต้ ในการเรียนรู้สู่การขยายผลกิจกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพและเชื่อมโยง บูรณาการ และขยายเครือข่าย เพื่อพัฒนากิจกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพของการทำงานเด็ก-เยาวชน และครอบครัว สู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ
  • ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา นักวิชาการประเด็นเด็กและเยาวชน ได้สรุปภาพรวมของการจัดห้องเด็กเยาวชนและครอบครัว ได้มีสรุปประเด็นที่พูดคุยสถานการณ์เด็กและเยาวชน ดังนี้ เรามีเด็กและเยาวชน คือ 23% เป็น 100% กำลังของชาติ ลักษณะปัญหาของเด็กและเยาวชนเป็นสหปัจจัย มีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบของสื่อ ข่าวสาร มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของเด็ก และครอบครัว ความไม่พร้อมในการดูแลเด็กและเยาวชน พร้อมข้อเสนอแนะประเด็นการทำงานด้านเด็กและเยาวชน ดังนี้
  1. เรามีการทำงานแบบเครือข่ายเชิงหลากหลาย ต้องมีการทำงานเชิงเครือข่าย สิ่งสำคัญคือระบบข้อมูล องค์ความรู้การทำงานด้านเด็กและเยาวชน ต้องยกระดับความรู้เอาไปใช้ต่อ
  2. กลุ่มเด็กและเยาวชนมีความหลากหลาย ภาคใต้มีความเปราะบาง บริบทศาสนาที่แตกต่างกัน ระบบการคัดกรองเด็กเป็นสิ่งสำคัญ เราพัฒนาเด็กให้เป็นกำลังสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพ จำเป็นต้องมีระบบสร้างความเข้าใจให้กับพี่เลี้ยงในการสนับสนุนและช่วยเหลืองานของเด็กและเยาวชน
  3. การสร้างความมั่นคงและคุณค่าของคนทำงานด้านเด็กและเยาวชน
  4. การสร้างความรู้ เครื่องมือ หรือเราต้องมีการถอดบทเรียน ซึ่งมีกระบวนการต่างๆ เช่น การทำงานเชิง Area base โดยปลูกฝังให้เด็กรู้จักคิด วิเคราะห์เป็น จะได้มีภูมิต้านทาน สามารถเรียนรู้เป็น วิเคราะห์เป็น
  5. การมีพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็ก
  6. ผู้ใหญ่ต้องปรับเรืองการปรับทัศนคติการทำงานด้านเด็กและเยาวชน ฟังเสียงเด็กเป็น ลดช่องว่าง และสามารถพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นต้นแบบการทำงาน
  7. การยกระดับคุณค่าการทำงานด้านเด็กและเยาวชน การเสริมระบบคุณค่า และยกระดับมาตรฐานการทำงาน
  8. กลไกการพัฒนางานของภาครัฐ ต้องเข้ามาเชื่อมหนุนเสริมการทำงานกับคนในพื้นที่ เช่น ระดับตำบล ให้มีการปฏิบัติการจริง อย่าถีบเด็กออกจากกลไกของภาครัฐ
  9. ระบบกระทรวงศธ.น่าจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการแก้ปัญหาเด็ก ซึ่งเป็นเด็กใน Setting ของพื้นที่โดยมีหลักสูตร การเรียน การสอน บุคลกรในรร.เป็นความหวังให้กับเด็กและเยาวชน รร.จำเป็นต้องยึดหลักคุณค่า ความดี ของเด็กและสร้างอนาคตให้กับเด็ก ต้องไม่เน้นเฉพาะเด็กเก่ง ควรมีระบบช่วยเหลือเด็ก คัดกรองและช่วยเหลือแก้ปัญหาเด็กไม่ให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง
  10. รร.พ่อแม่ น่าจะมีกลุ่มสธ.มาเป็นวิทยากรเข้ามาพัฒนาคนที่เป็นพ่อหรือแม่
  11. อยากให้มีศูนย์ประสานงาน หรือศูนย์รับเรื่องราวของเด็กและเยาวชน
  12. อยากให้มีระบบกองทุนสุขภาพตำบล ของบประมาณสนับสนุนด้านเด็กและเยาวชน ถ้าเป็นสปสช.งบประมาณสำหรับเด็กจะน้อยมาก เพราะจำกัดทำเรื่องด้านสุขภาพ ควรมีงบประมาณให้เด็กทำกิจกรรมสร้างสรรค์
  13. ควรมีสื่อสร้างสรรค์ที่ดีสำหรับเด็กและเยาวชน เป็นเครื่องมือสำคัญให้เด็กเกิดการเรียนรู้
  14. ข้อเสนอจะส่งไปตระกูลส.ถึงบอร์ดของกองทุน เรามีการเชิญชวนขอนัดภาคีที่เกี่ยวข้องกับสื่อของภาคใต้ หลายเรื่องเป็นนิมิตใหม่ที่ดี เพื่อสร้างนวัตกรรมด้านสื่อร่วมกันในภาคใต้
  15. อยากให้กำหนดเป็นรูปธรรม โดยมีวาระร่วมเชิงประเด็น เชิงเครือข่าย น่าจะมีกรรมการของพื้นที่สัก 1 ชุด เชิงโครงสร้างเพื่อเป็นตัวแทนในการทำงานเป็นรูปธรรม โดยมีเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อทดลองปฏิบัติการ สสส.จะร่วมสนับสนุนให้เกิด
    ข้อค้นพบ ดังกล่าว หากมองในภาพรวมสู่ข้อเสนอในระดับนโยบาย พบว่า หลายองค์กรไม่สามารถนำข้อเสนอหรือนโยบายไปปรับใช้หรือให้เกิดได้จริง เนื่องจากหลายองค์กรไม่สามารถไปบังคับหรือบังคับองค์กรนั้นๆได้ จึงควรออกแบบข้อเสนอที่เป็นรูปธรรมในการปฏิบัติการร่วมกัน

- ปี 2561 สู่แนวคิดจากที่ประชุม ผ่านหัวข้อ ก้าวข้ามขีดจำกัด สิ่งที่อยากเห็นคือ พื้นที่รูปธรรมการเคลื่อนงานร่วมกับภาคี และเรียนรู้ข้ามเครือข่ายที่หลากหลายประเด็นยิ่งขึ้น โดยการเชื่อมประสานการทำงานเด็กเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็ก/พัฒนากระบวนการทำงาน แบ่งได้ 3 ระดับ ระดับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดับองค์กรคนทำงานประเด็นเด็ก และระดับกลุ่มเด็กและเยาวชนรวมถึงเครือข่าย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเรียนรู้สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซ้อนมากขึ้น ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คนรวมถึงเด็กเยาวชนและครอบครัว
  2. เพื่อสร้างกลไกระดับภาคใต้ในการเรียนรู้สู่การขยายผลกิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพและเชื่อมโยงบูรณาการ และขยายเครือข่าย
  3. เพื่อออกแบบและพัฒนากิจกรรมร่วมกันสู่การก้าวข้ามข้อจำกัดด้านสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรมของการทำงานเด็ก-เยาวชน และครอบครัว สู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเวทีย่อยคณะทำงาน ภาคใต้ตอนบน ครั้งที่1

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทบทวนมติข้อเสนอปี 59 จากหน่วยงาน ว่ามีการทำไปแล้วหรือยัง
    • ประชุมออกแบบวางแผนขับเคลื่อนข้อเสนอที่ยังไม่ได้ทำร่วมกับหน่วยงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • รูปแบบการขับเคลื่อนข้อเสนอจากปี 59 ของแต่ละหน่วยงาน
    • สถานการณ์ สาเหตุ ที่ไม่ได้ขับเคลื่อนข้อเสนอ
    • แผนงานการขับเคลื่อนข้อเสนอปี 59 ของคณะทำงานภาคใต้ตอนบน

     

    10 0

    2. ประชุมเวทีย่อยคณะทำงาน ภาคใต้ตอนล่าง ครั้งที่2

    วันที่ 5 มกราคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทบทวนมติข้อเสนอปี 59 จากหน่วยงาน ว่ามีการทำไปแล้วหรือยัง ได้แก่
      1.สสส. เรื่อง การทำฐานข้อมูลเรื่องเด็กและคนทำงานเรื่องเด็กในพื้นที่ รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพ 2.สช.เรื่องการขับเคลื่อนมิตสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ หรือมีการนำประเด็นเด็กขับเคลื่อนเข้าสู่สมัชชาจังหวัด
      3.สปสช. เรื่องทบทวนโครงการกองทุนตำบลเกี่ยวกับในประเด็นเด็ก 4.กระทรวงสาธารณสุข และองค์กรอื่น ๆ
    • ประชุมออกแบบวางแผนขับเคลื่อนข้อเสนอที่ยังไม่ได้ทำร่วมกับหน่วยงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • รูปแบบการขับเคลื่อนข้อเสนอจากปี 59 ของแต่ละหน่วยงาน
    • สถานการณ์ สาเหตุ ที่ไม่ได้ขับเคลื่อนข้อเสนอ
    • แผนงานการขับเคลื่อนข้อเสนอปี 59 ของคณะทำงานภาคใต้ตอนล่าง

     

    10 10

    3. ประชุม ทีมคณะทำงานกลางเพื่อร่วมออกแบบกิจกรรมพื้นที่ตัวอย่างของการก้าวข้ามข้อจำกัดในประเด็นเด็กเยาวชนและครอบครัว

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    10 16

    4. ถอดบทเรียนผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนข้อเสนอตามแผนงาน

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 16

    5. จัดทำข้อมูลนำเข้า เพื่อทำTOR และนำเสนอเวทีใหญ่

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    10 10

    6. เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบการทำงานห้องย่อยระดับเครือข่าย

    วันที่ 5 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรื่องที่ประชุม 1. รับฟังข้อเสนอแนะจากอาจารย์นาง ในประเด็นห้องเด็ก เยาวชนและครอบครัว 2. กำหนดหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมและออกแบบกำหนดการ 3. จำนวนบูธนิทรรศการในประเด็นห้องเด็กเยาวชนและครอบครัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ร่างกำหนดการ ห้องประเด็นเด็กและเยาวชน รวมถึง รายชื่อ วิทยากรประจำห้องที่จะมาพูดคุยในแต่ละประเด็น
    • รายชื่อเครือข่ายที่จะเข้าร่วมงานสร้างสุขจำนวน 103 คน รวมวิทยากร โดยให้เตรียมชื่อ นามสกุล ที่อยู่ และเลขที่บัตรประชาชน เพื่อลงทะเบียนในระบบของ สจรส. มอ.
    • เกิดฐานข้อมูลรายชื่อ และเบอร์ติดต่อของผู้ประสานงานเครือข่ายเด็กเยาวชน

     

    5 10

    7. เวทีสรุปข้อมูลและจัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในประเด็นเด็กและเยาวชน เพื่อเข้าสู่งานสร้างสุขปี 2561

    วันที่ 5 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเรียนรู้สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซ้อนมากขึ้น ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คนรวมถึงเด็กเยาวชนและครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสร้างกลไกระดับภาคใต้ในการเรียนรู้สู่การขยายผลกิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพและเชื่อมโยงบูรณาการ และขยายเครือข่าย
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อออกแบบและพัฒนากิจกรรมร่วมกันสู่การก้าวข้ามข้อจำกัดด้านสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรมของการทำงานเด็ก-เยาวชน และครอบครัว สู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเรียนรู้สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซ้อนมากขึ้น ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คนรวมถึงเด็กเยาวชนและครอบครัว (2) เพื่อสร้างกลไกระดับภาคใต้ในการเรียนรู้สู่การขยายผลกิจกรรมด้านการสร้างเสริมสุขภาพและเชื่อมโยงบูรณาการ และขยายเครือข่าย (3) เพื่อออกแบบและพัฒนากิจกรรมร่วมกันสู่การก้าวข้ามข้อจำกัดด้านสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรมของการทำงานเด็ก-เยาวชน และครอบครัว สู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ประเด็นสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว จังหวัด ภาคใต้

    รหัสโครงการ 60-ข-067

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฮาริส มาศชาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด