assignment
บันทึกกิจกรรม
พี่เลี้ยงและทีมวิชาการลงพื้นที่ถอดบทเรียน ครั้งที่ 125 กุมภาพันธ์ 2561
25
กุมภาพันธ์ 2561รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

-

เวทีสังเคราะห์บทเรียน25 กุมภาพันธ์ 2561
25
กุมภาพันธ์ 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กำไล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

9.00-12.00 น.
  พี่เลี้ยงและพื้นที่ช่วยกันเขียนงานวิชาการ “การสังเคราะห์บทเรียนพื้นที่ต้นแบบตามประเด็นเด่นของการขับเคลื่อนงานในพื้นที่” มี 8 หัวข้อย่อย
ชื่อเรื่อง
เรื่องย่อ
ที่มา วัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย วิธีการ ผลการดำเนินงานและคุณค่าของโครงการ การขยายผลเชิงนโยบายสาธารณะ
ข้อเสนอแนะ (สำหรับผู้สนใจการทำโครงการในครั้งต่อไป หรือ/และการต่อยอดโครงการ)

13.00-17.00 น.
  พี่เลี้ยงและพื้นที่ นำเสนอจุดเด่นของงานเขียน เพื่อให้ทีมทั้งหมดช่วยเสนอแนะให้งานเขียนมีจุดเด่นเพื่อเรียนรู้และต่อยอดได้มากที่สุด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเด็นเด่นและชื่อพื้นที่ เพื่อจัดทำเอกสารทางวิชาการ จำนวน 12 พื้นที่ ได้แก่ 1) เศรษฐกิจครัวเรือน ได้แก่ บ้านแพรกเมือง จ.นครศรีฯ และบ้านม่วงเงิน จ.ปัตตานี 2) การจัดการขยะ ได้แก่ บ้านท่าพรุ จ.กระบี่ บ้านมะดือลง จ.ยะลา และบ้านเขาสามล้าน จ.ชุมพร 3) ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ บ้านช่องฟืน จ.พัทลุง 4) บริโภคผักปลอดสารเคมี ได้แก่ บ้านหัวลำภู จ.นครศรีฯ และบ้านคู จ.พัทลุง 5) สภาผู้นำเข้มแข็ง ได้แก่ บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 4 จ.นครศรีฯ และทุ่งคางิ้ว จ.นครศรีฯ 6) การทำและใช้แผนชุมชนพึ่งตนเองขับเคลื่อนยุทธศาสตร์หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านพิตำ จ.นครศรีฯ และบ้านเกาะทองสมใหม่ จ.พัทลุง พี่เลี้ยงและพื้นที่นำข้อเสนอแนะจากเวทีในวันนี้ ไปเขียนงานวิชาการ และส่งงานเขียนให้ผู้ประสานงาน 3 โหนด ภายในวันที่ 2 มีนาคม 2561 เพื่อจะได้ส่งต้นฉบับให้ สจรส.มอ. ในวันที่ 5 มีนาคม 2561

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 38 คน จากที่ตั้งไว้ 35 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยง 3 โหนด จำนวน 10 คน แกนนำชุมชนและผู้รับผิดชอบโครงการพื้นที่เด่น จำนวน 12 พื้นที่ รวม 25 คน กองเลขาโครงการชุมชนน่าอยู่ 4 คน

ประชุมทีมพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่24 ธันวาคม 2560
24
ธันวาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุดา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ตัวแทนพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่และผู้บริหาร node ชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ รวม จำนวน 8 คน ประชุมทบทวนงานและกำหนดประเด็นการถอดบทเรียนพื้นที่เด่น

2.พิจารณาเลือกพื้นที่และประเด็นที่จะถอดบทเรียน จำนวน 12 พื้นที่

  1. ร่างกำหนดการกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ในงานคนใต้สร้างสุข
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ตัวแทนพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่และผู้บริหาร node ชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ รวม จำนวน 8 คน ประชุมทบทวนงาน และกำหนดประเด็นการถอดบทเรียน เพื่อนำข้อมูลไปใช้เผยแพร่ในงานคนใต้สร้างสุข

  2. พิจารณาเลือกพื้นที่และประเด็นที่จะถอดบทเรียน จำนวน 12 พื้นที่ ได้แก่ ประเด็นสภาผู้นำชุมชนเข้มแข็ง 1 พื้นที่ แผนชุมชนพึ่งตนเอง 1 พื้นที่ เศรษฐกิจครัวเรือน 4 พื้นที่ การจัดการขยะ 2 พื้นที่ การจัดการสิ่งแวดล้อม 2 พื้นที่และบริโภคผักปลอดสารเคมี 2 พื้นที่

  3. จัดทำฉบับร่างของกำหนดการลานโชว์ ชิม ช็อป แชร์ เชื่อม ชุมชนน่าอยู่

วันแรก
๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.เครือข่ายจัดเตรียมนิทรรศการในลานปัญญาชุมชน

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. เครือข่ายชุมชนน่าอยู่เข้าร่วมพิธีเปิดงานสร้างสุขภาคใต้

๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๑

๑๔.๔๕ – ๑๕.๑๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๑

๑๔.๑๐ – ๑๔.๓๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๒

๑๕.๓๕ – ๑๕.๕๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๕.๕๕ – ๑๕.๒๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ประเด็นการจัดการขยะโดยชุมชน ๑

๑๕.๒๐ - ๑๕.๔๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ประเด็นการจัดการขยะโดยชุมชน ๒

๑๕.๔๕ – ๑๖.๐๐ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. เปิดลานโชว์ของดีวิถีชุมชนน่าอยู่

วันที่สอง

๐๘.๓๐ – ๐๙.๑๕ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

๐๙.๑๕ – ๐๙.๔๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๑

๐๙.๔๐ – ๑๐.๐๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๒

๑๐.๐๕– ๑๐.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๒

๑๐.๑๕ – ๑๐.๔๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นบริโภคผักปลอดสารเคมี ๑

๑๐.๔๐ – ๑๑.๐๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นบริโภคผักปลอดสารเคมี ๒

๑๑.๐๕ – ๑๑.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๑.๒๕ – ๑๒.๔๕ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

๑๒.๔๕ – ๑๓.๐๐ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๓

๑๓.๐๐ – ๑๓.๒๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ด้วยกลไกสภาผู้นำชุมชนเข้มแข็ง

๑๓.๒๕ – ๑๓.๕๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ด้วยแผนชุมชนพึ่งตนเอง

๑๓.๕๐ – ๑๔.๑๐ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๔.๑๐ – ๑๔.๑๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๔

๑๔.๑๕ – ๑๓.๔๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๓

๑๓.๔๐ – ๑๔.๐๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๔

๑๔.๐๕ - ๑๔.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

๑๔.๒๕ – ๑๖.๓๐ น. เปิดลานให้เป็นพื้นที่กลาง เยี่ยมชม ซักถาม โชว์ แชร์ เชื่อม เพื่อนภาคี และแลกเปลี่ยนเพื่อเสนอข้อเสนอจากพื้นที่สู่ระดับนโยบาย