directions_run

สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง ”

13 อำเภอ 77 ตำบล 87 อปท. 589 หมู่บ้าน ในจังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัสรีย์ยา

ชื่อโครงการ สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง

ที่อยู่ 13 อำเภอ 77 ตำบล 87 อปท. 589 หมู่บ้าน ในจังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 148/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 13 อำเภอ 77 ตำบล 87 อปท. 589 หมู่บ้าน ในจังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง



บทคัดย่อ

โครงการ " สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง " ดำเนินการในพื้นที่ 13 อำเภอ 77 ตำบล 87 อปท. 589 หมู่บ้าน ในจังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 148/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 3000 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) เป็นหน่วยงานรัฐได้มอบหมายให้ศูนย์ประสานงานภาคีการพัฒนาจังหวัดนราธิวาส (ศปจ.นธ) ได้ขับเคลื่อนสานพลังประชารัฐของรัฐบาล ทั้งในเรื่องเศรษฐกิจฐานรากและด้านประชารัฐเพื่อสังคม ภายใต้โครงการพัฒนากลไกสนับสนุนเครือข่ายจิตอาสาประชารัฐจังหวัด เสริมสร้างสังคมสุขภาวะ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือประชาชนในภาวะลำบากหรือกลุ่มเปราะบางทุกประเภทในชุมชนท้องถิ่นด้วยวิธีการสำรวจทุกหมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอจึงได้เล็งเห็นว่า งานจิตอาสาในแนวทางรวมพลังที่เรียกว่า “เป็นประชา-รัฐ” เช่นนี้เป็นรูปธรรมที่ดีที่สุดในการเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมสู่ประเทศไทย ๔.๐ เพราะสามารถสะท้อนทั้งคุณลักษณะของสังคมที่ไม่ทอดทิ้งกัน สังคมเข้มแข็ง และสังคมคุณธรรมไปพร้อมกัน ทั้งยังสามารถเชื่อมโยงการทำงานระหว่างภาคีส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และภาควิชาการ วิชาชีพในระดับต่างๆและประการที่สำคัญคือ กลไกสนับสนุนเครือข่ายจิตอาสาประชารัฐในจังหวัดที่จะเกิดขึ้นในโครงการนี้ จะกลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมที่สำคัญ (social infrastructure) สำหรับการจัดการปัญหาและพัฒนาชุมชนท้องถิ่น รวมทั้งพื้นที่ทุกภูมิภาคแบบมีส่วนร่วม อันจะนำไปสานพลังสร้างสังคมสุขภาวะขึ้นต่อไปในอนาคต สังคมสุขภาวะ หมายถึง สังคมที่สามารถอยู่รอดและมีความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันได้ ซึ่งมักประกอบด้วยคุณลักษณะ ๓ ประการ ได้แก่ สังคมที่ไม่ทอดทิ้งกัน เป็นสังคมที่เข้มแข็ง และเป็นสังคมคุณธรรม ซึ่งทุกสังคมย่อมมีองค์ประกอบของประชากรที่หลากหลาย ทั้งกลุ่มประชากรที่เข้มแข็งและประชากรที่ยากลำบากในสังคมสุขภาวะ จึงต้องมีค่านิยมของการให้ การเสียสละ การช่วยเหลือเกื้อกูลและเอื้ออาทรกัน เป็นค่านิยมแบบจิตอาสา ที่ผู้ที่เข้มแข้งกว่าจะยื่นมือไปช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอและยากลำบาก เพื่อให้ผ่านพ้นความเดือดร้อนเฉพาะหน้า และสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพสู่ความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ในระยะยาว สำหรับการดำเนินงานในเรื่องนี้ จังหวัดนราธิวาสในนามศูนย์ประสานงานภาคีการพัฒนาจังหวัดนราธิวาส (ศปจ.นธ) ได้ประสบความสำเร็จในการรวบรวมภาคีเครือข่ายในจังหวัดนราธิวาสรวมทั้งสิ้น 50 องค์กรภาคีเครือข่าย และสามารถที่จะสร้างพลเมืองจิตอาสาเพื่อรองรับการช่วยเหลือสังคมกลุ่มเปราะบางได้จำนวน 650 คน ซึ่งมีความครอบคลุมในเชิงองค์กรภาคีในการทำงานที่หลากหลายและมีความครอบคลุมในเชิงพื้นที่การปฏิบัติงานที่มีอยู่ 77 ตำบลหรือ 87 อปท. 13 อำเภอของจังหวัดนราธิวาส ที่จะมีพลเมืองจิตอาสาควบคู่กับการทำงานในแบบประชารัฐแต่ละพื้นที่ และเพื่อคาดหวังสังคมสุขภาวะให้เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จึงเห็นควรที่จะดำเนินโครงการสานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาลกลุ่มเปราะบางต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกพลเมืองจิตอาสาได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น
  2. เพื่อให้เกิดระบบฐานข้อมูลพลเมืองจิตอาสาที่สะดวกในการใช้งาน
  3. เพื่อให้พลเมืองจิตอาสาจัดระบบการบริบาลกลุ่มเปราะบางแต่ละพื้นที่
  4. เพื่อให้กลุ่มเปราะบางในพื้นที่ได้มีการจัดระบบฐานข้อมูลที่เป็นเอกภาพที่รองรับการทำงานของทุกภาคส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. การประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง
  2. 2. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน
  3. 3. ค่าประสานงาน /ค่าเดินทางคณะทำงาน
  4. 4. ค่าวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน
  5. 1. กิจกรรมจัดกลไกการทำงานแบบประชารัฐ
  6. 2. อบรมเตรียมความพร้อมแกนนำพลเมืองจิตอาสาและการใช้เครื่องมือ
  7. 3. สำรวจและจัดทำข้อมูลกลุ่มเปราะบางทุกประเภทในหมู่บ้าน/ชุมชน
  8. 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านและให้ความรู้แก่กลุ่มเปราะบาง
  9. 5. ถอดบทเรียนการทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3. ค่าประสานงาน /ค่าเดินทางคณะทำงาน

วันที่ 17 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ติดต่อประสานงานในกิจกรรมต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถประสานงานได้เป็นอย่างดี

 

13 0

2. 4. ค่าวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน

วันที่ 17 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการจัดซื้อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถซ์้ออุปกรณ์ตามความต้องการ

 

13 0

3. 1. การประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง

วันที่ 29 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29/9/60 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21/10/60 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 211/11/60 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 16/12/60

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถวางแผนการดำเนินงานได้

 

13 11

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อให้เกิดกลไกพลเมืองจิตอาสาได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น 2. เพื่อให้เกิดระบบฐานข้อมูลพลเมืองจิตอาสาที่สะดวกในการใช้งาน 3. เพื่อให้พลเมืองจิตอาสาจัดระบบการบริบาลกลุ่มเปราะบางแต่ละพื้นที่ 4. เพื่อให้กลุ่มเปราะบางในพื้นที่ได้มีการจัดระบบฐานข้อมูลที่เป็นเอกภาพที่รองรับการทำงานของทุกภาคส่วน

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. การประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง (2) 2. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน (3) 3. ค่าประสานงาน /ค่าเดินทางคณะทำงาน (4) 4. ค่าวัสดุ อุปกรณ์สำนักงาน (5) 1. กิจกรรมจัดกลไกการทำงานแบบประชารัฐ (6) 2. อบรมเตรียมความพร้อมแกนนำพลเมืองจิตอาสาและการใช้เครื่องมือ (7) 3. สำรวจและจัดทำข้อมูลกลุ่มเปราะบางทุกประเภทในหมู่บ้าน/ชุมชน (8) 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านและให้ความรู้แก่กลุ่มเปราะบาง (9) 5. ถอดบทเรียนการทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สานพลังพลเมืองจิตอาสาประชารัฐเพื่อบริบาล กลุ่มเปราะบาง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 148/2560

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสรีย์ยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด