directions_run

พัฒนาศักยภาพหมู่บ้านชาวประมงพื้นบ้าน หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 8 ต.บ้านกลาง อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับชาวประมงพื้นบ้านเกี่ยวกับกฎหมายและการใช้อุปกรณ์ประมงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อลดความเสี่ยงของเยาวชนไม่ให้ยุงเกี่ยวกับสิ่งอบายมุกและสิ่งเสพติดในหมู่บ้านชาวประมงพื้นบ้าน 3. เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุ่มแม่บ้านในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง( 4 ครั้ง) (2) กิจกรรมอบรมเรื่องการบริหารจัดการโครงการพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านชาวประมงพื้นบ้าน (3) กิจกรรมอบรมเรื่องการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร การใช้เครื่องมือที่ไม่ทำลายล้าง ผิดกฎหมายและ พรบ.ประมง (4) กิจกรรมฟื้นฟูแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน(สร้างบ้านปลา กิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ ๒) จำนวน ๒๐๐ ชุด  (5) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มแม่บ้านเรื่องการจัดการบริหารเวลา(การปลูกพืชผักสวนครัว) (6) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเยาวชนห่างไกลยาเสพติดและสิ่งอบายมุข(การทำไม้กวาดจากวัสดุท้องถิ่นก้านมะพร้าว) (7) จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯและนำเสนอสู่สาธารณชน (8) ประชุมวางแผนการจัดการผลผลิตการประมง  (9) ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนเครือข่ายบางตาวา  (10) กิจกรรมการรับต่อทะเบียนอนุญาติการใช้เรือ  (11) กิจกรรมกระชับสัมพันธ์ทีมงาน ศอ.บต.กับคณะทำงานสมาคมชาวประมงพื้นบ้าน อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี  (12) ประชุมเตรียมงานวันทะเลโลก  (13) อบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการสมาคม  (14) กิจกรรมวันทะเลโลก  (15) อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ