directions_run

พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี ”

หมู่ที่ 8 ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรัตนา ดือเระซอ

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี

ที่อยู่ หมู่ที่ 8 ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 8 ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 8 ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,700.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี 2548 นางรัตนา ดือเระซอ หรือ กะเจ๊ะ จากชุมชนบ้านบาราเฮาะ อ.เมือง จ.ปัตตานี ได้สูญเสียสามีจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ซึ่งหลังจากที่สามีของนางรัตนาได้เสียชีวิตลง นางรัตนาได้ปิดตัวเองอยู่ในบ้านนานกว่า 3 ปี โดยระหว่างนั้นได้รับความช่วยเหลือจากชาวบ้านในชุมชนและองค์กรต่าง ๆ จนทำให้กลับมาเข้มแข็งได้อีกครั้ง และอยากที่จะตอบแทนบุญคุณผู้อื่นที่คอยช่วยเหลือและเป็นกำลังใจให้ครอบครัวของตนเองมาโดยตลอด จึงลุกขึ้นมาจัดตั้ง “กลุ่มมะกรูดหวาน” เพื่อรวมกลุ่มสตรีหม้าย คนว่างงานและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาความไม่สงบซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมากในพื้นที่ มาร่วมกันเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มรายได้ โดยมีแนวคิดการสร้างสรรค์งานหัตกรรมที่ผสานสามวัฒนธรรมหลักของพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ได้แก่ วัฒนธรรมมาลายู วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมจีนเข้าด้วยกัน กระทั่งออกมาเป็นกระเป๋าผ้าที่มีเรื่องราวและเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นที่ถูกใจแก่ผู้พบเห็นทั้งในและนอกพื้นที่ จนทำให้มียอดการสั่งซื้อเข้ามาอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบันกลุ่มมะกรูดหวานมีสมาชิกหลัก 7 คน และมีเครือข่ายอีกกว่า 30 คน ได้ทำให้กลุ่มผู้หญิงในชุมชนมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นเฉลี่ยประมาณ 4,500 บาทต่อเดือน และที่สำคัญคืองานนี้เป็นงานที่ผู้หญิงสามารถทำงานที่บ้านได้ จึงมีเวลาดูแลลูกและครอบครัว ทำให้ครอบครัวเกิดความอบอุ่น เด็กและเยาวชนได้รับความใส่ใจดูแล ช่วยลดปัญหาความเสี่ยงในการเข้าสู่กระบวนการยาเสพติด และครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้
นอกจากงานด้านอาชีพแล้ว กลุ่มมะกรูดหวานได้เข้าร่วมกับองค์กรภาครัฐและภาคประชาสังคมในพื้นที่เพื่อทำงานช่วยเหลือสังคม โดยประธานกลุ่มได้ร่วมเป็นกรรมการเยียวยา ตำบลบาราเฮาะ และมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคมต่าง ๆ อีกด้วย และยังเชื่อมความช่วยเหลือจากองค์กรและบุคคลภายนอกเข้ามาร่วมพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะการทำงานกับเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสในชุมชนซึ่งยังขาดทักษะการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นอุปสรรคในการพัฒนาตนเองของเด็กทั้งในโรงเรียนและการออกไปทำงานภายนอก ทางกลุ่มมะกรูดหวานจึงได้จัดกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษโดยเชิญอาสาสมัครชาวต่างประเทศ และตัวประธานกลุ่มเองได้ร่วมสอนภาษาไทยแก่เด็ก เยาวชนในชุมชนที่ขาดโอกาสทุกวันเสาร์และอาทิตย์
ปัจจุบันกลุ่มมะกรูดหวานได้ประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อขยายตลาด ซึ่งจะทำให้เครือข่ายผู้หญิงทั้งในชุมชนบาราเฮาะและใกล้เคียงมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น อาทิ ได้เข้าร่วมโครงการของศอ.บต.ในการทำโครงการส่งเสริมอาชีพเย็บผ้าแก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ร่วมกับบริษัท R.ULONG SDN. BHD. และร่วมออกบูธนำเสนอผลิตภัณฑ์และเรื่องราวของผู้หญิงในงานของดีชายแดนใต้ โดยสำนักการให้ความช่วยเหลือเยียวยา ศอ.บต. อย่างสม่ำเสมอ และที่สำคัญคือการร่วมเป็นภาคีขับเคลื่อนพลังทางเศรษฐกิจให้กับผู้หญิงร่วมกับศูนย์ธุรกิจเพื่อสังคมวานีตา (WANITA) โดยองค์การอ็อกแฟม ประเทศไทยที่มีแนวคิดในการเชื่อมตลาดนอกพื้นที่ ซึ่งโอกาสในการขยายตลาดนี้จะทำให้กลุ่มมะกรูดหวานสามารถเพิ่มจำนวนเครือข่ายผู้หญิงและผู้ได้รับผลกระทบ และเพิ่มจำนวนผู้ได้รับประโยชน์จากการทำงานมากขึ้น รวมถึงขยายงานฐานการพัฒนาอาชีพไปยังกลุ่มเด็กด้อยโอกาสในชุมชน เพื่อให้มีทักษะในการประกอบอาชีพมากยิ่งขึ้น และสามารถมีรายได้อย่างมั่นคงได้
ในการนี้ เพื่อพัฒนาแกนนำที่มีศักยภาพในการผลิตงานหัตกรรมและสามารถเป็นที่ปรึกษาและผู้ฝึกสอนให้กับผู้หญิงคนอื่น ๆ ต่อไป รวมถึงการพัฒนาศักยภาพในเรื่องการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษใหกับคนในชุมชนเพื่อรองรับการขยายตลาดและพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน กลุ่มมะกรูดหวานจึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการ “พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็ก และเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต บ้านบาราเฮาะ จังหวัดปัตตานี” ขึ้น โดยมุ่งหวังว่าโครงการนี้จะเป็นรากฐานสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้หญิง และชุมชนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ สอดคล้องกับภารกิจและเป้าหมายของศอ.บต.ต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

1) เพื่อสร้างแกนนำผู้หญิงที่มีศักยภาพในการด้านการออกแบบตัดเย็บ ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาและผู้ฝึกสอนให้กับสมาชิกในชุมชนเพื่อสร้างการมีงานทำและการมีรายได้
2) เพื่อพัฒนาทักษะการเย็บผ้าทั้งขั้นพื้นฐานและขั้นสูงให้กับกลุ่มผู้หญิงที่ได้รับผลกระทบจากความสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ในพื้นที่ตำบลบาราเฮาะ และบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดปัตตานี เพื่อสามารถสร้างรายได้อย่างมั่นคง
3) เพื่อเพิ่มทักษะในการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้กับเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสในชุมชนตำบลบาราเฮาะ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการมีงานทำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  2. กิจกรรมอบรมทักษะการตัดเย็บขั้นสูง
  3. กิจกรรมอบรมทักษะการตัดเย็บขั้นพื้นฐาน
  4. การขยายตลาดที่จังหวัดสระบุรี
  5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน
  6. 1.1.ค่าจัดประชุมคณะทำงาน
  7. ค่าเดินทางและค่าติดต่อประสานงานของคณะทำงาน
  8. อบรมแนะนำโครงการและแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน อบรมขั้นพื้นฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

วันที่ 18 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เรียบเรียงเอกสารแต่ละกิจกรรมจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

 

1 1

2. ค่าจัดประชุมคณะทำงาน

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้าในการทำงานร่วมกัน 1.ได้นัดหมายสมาชิกกลุ่มมาประชุม 2.แบ่งบทบาทหน้าที่ตามความสามารถของสมาชิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดความสามัคคีกันของผู้เข้าร่วมกลายเป็นเครือข่ายเดียวกัน 2.เกิดความคิดที่จะทำกิจกรรมวันอาซูรอ 3.กิจกรรมที่ได้ทำ ได้เผยแพร่ทางเฟสบุ๊คและทางไลน์ทำให้หน่วยงานต่างๆ เข้ามาสนใจ มาถ่ายทำผลงานของกลุ่มมะกรูดหวาน ทำให้คนรู้จักกลุ่มมะกรูดหวานมากขึ้น 4.เกิดผลงานที่เข้าร่วมอบรม

 

10 10

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1) เพื่อสร้างแกนนำผู้หญิงที่มีศักยภาพในการด้านการออกแบบตัดเย็บ ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาและผู้ฝึกสอนให้กับสมาชิกในชุมชนเพื่อสร้างการมีงานทำและการมีรายได้ 2) เพื่อพัฒนาทักษะการเย็บผ้าทั้งขั้นพื้นฐานและขั้นสูงให้กับกลุ่มผู้หญิงที่ได้รับผลกระทบจากความสงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ ในพื้นที่ตำบลบาราเฮาะ และบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดปัตตานี เพื่อสามารถสร้างรายได้อย่างมั่นคง 3) เพื่อเพิ่มทักษะในการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้กับเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสในชุมชนตำบลบาราเฮาะ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการมีงานทำ

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ  (2) กิจกรรมอบรมทักษะการตัดเย็บขั้นสูง (3) กิจกรรมอบรมทักษะการตัดเย็บขั้นพื้นฐาน  (4) การขยายตลาดที่จังหวัดสระบุรี  (5) จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน (6) 1.1.ค่าจัดประชุมคณะทำงาน (7) ค่าเดินทางและค่าติดต่อประสานงานของคณะทำงาน (8) อบรมแนะนำโครงการและแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน อบรมขั้นพื้นฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพผู้นำผู้หญิง เด็กและเยาวชน ด้วยทักษะการตัดเย็บและการสื่อสารเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตบ้านบาราเฮาะ จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรัตนา ดือเระซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด