Node Flagship

directions_run

ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมุลกิส มะซง

ชื่อโครงการ ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2564 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล



บทคัดย่อ

โครงการ " ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-00175-0017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2564 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา มีเนื้อที่ 17.88 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน ได้แก่หมู่ที่ 1 บ้านโฉลง หมู่ที่ 2 บ้านปุโรง หมู่ที่ 3 บ้านตะโล๊ะปานะ และหมู่ที่ 4 บ้านลูโบ๊ะกาโล และมีจำนวนประชากร 1,027 ครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม เป็นตำบลที่มีความพร้อมในด้านการเกษตร ด้วยสภาพภูมิประเทศเป็นเนินสูงมีภูเขาตลอดแนว ด้านทิศตะวันตกช่วงบริเวณตอนกลางของตำบลเป็นที่ราบสูง และตลอดแนวด้านทิศตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มติดแม่น้ำปัตตานี ทำให้มีภูมิอากาศที่เอื้ออำนวยแก่การเพาะปลูกพืชพันธุ์อันหลากหลาย ทำให้การเพาะปลูกพืชผักเศรษฐกิจได้ผลผลิตดี และสามารถส่งออกสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ในปัจจุบันมีการส่งเสริมเกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ หันมาทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ ด้วยรูปแบบการเพาะปลูกรูปแบบใหม่ แล้วนำไปต่อยอดสร้างรายได้เกิดเป็นเกษตรอุตสาหกรรม เกษตรเชิงท่องเที่ยว
      กลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา เป็นการรวมตัวเกษตรกรปลูกผักปลอดภัย จำนวน 30 คน ในพื้นที่ ม. 1 บ้านโฉลง ตำบลปุโรง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ผักที่ปลูกเป็นประจำ ได้แก่ แตงกวา ถั่วฝักยาว ข้าวโพด พริก มะเขือ และผักบุ้ง ซึ่งส่วนใหญ่พบว่า เกษตรกรใช้ยังใช้สารเคมีในการเพาะปลูก และไม่สามารถรวบรวมพื้นที่การเพาะปลูกที่ชัดเจน เนื่องจากยังไม่มีการส่งเสริมที่เป็นระบบ และสร้างระบบรับรองเกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ และเกษตรอินทรีย์ที่ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ทั้งในด้านการผลิต และการตลาด ดังนั้น ทางกลุ่มควรได้ร่วมขับเคลื่อนงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับพื้นที่ เช่น โรงเรียนบ้านโฉลงซึ่งอยู่ในพื้นที่ ม.1 ตำบลปุโรง สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง และหน่วยงานระดับจังหวัด อาทิเช่น สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลา พัฒนาที่ดินจังหวัดยะลา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดยะลา และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการส่งเสริม ให้กลุ่มมีกระบวนการการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพ และสารกำจัดศัตรูพืชจากสมุนไพร เพื่อการขับเคลื่อนเกษตรปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดยะลาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในด้านเกษตรปลอดภัยครบวงจร
  2. เพื่อสร้างมาตรฐานรับรองผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง ขยายช่องทางการตลาด และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มและจัดตั้งคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานระดับตำบล อำเภอ จังหวัด
  2. กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย
  3. กิจกรรมที่ 3 อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการกำจัดศัตรูพืช
  4. กิจกรรมที่ 4 อบรมและพัฒนาผักปลอดภัยให้ได้มาตรฐาน PGS /GAP
  5. กิจกรรมที่ 5 ประชุมร่วมกับหน่วยจัดการ
  6. อบรมให้ความรู้และทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์
  7. สรุปโครงการ
  8. ประชุมขับเคลื่อน หน่อยงานจัดการระดับจังหวัด
  9. เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการย่อย
  10. ป้ายไวนิลโครงการและโฟมบอร์ด สสส.
  11. อบรมทำปุ๋ย
  12. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแล ครั้งที่ 1
  13. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  14. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย
  15. สำรวจแปลงเพื่อจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
  16. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 2
  17. เวทีทบทวนบันไดผลลักธ์และออกแบบเก็บข้อมูลโครงการย่อย
  18. พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย
  19. เวทีพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์
  20. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  21. อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการเตรียมดิน
  22. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 3
  23. เวทีพัฒนาศักยภาพการรวมรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย
  24. เวทีสมัชชา
  25. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  26. ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานPGS
  27. เวทีถอดบทเรียน3
  28. ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานGAP
  29. สำรวจแปลงและติดตามแปลงครั้งที่ 2
  30. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 4
  31. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  32. ประชุมสมาชิกลุ่มจือนือรงดาแลครั้งที่ 4
  33. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา
  34. เวทีสังคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมขับเคลื่อน หน่อยงานจัดการระดับจังหวัด

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

2. เวทีปฐมนิเทศและทำสัญญาโครงการย่อย

วันที่ 3 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศ/ทำสัญญา ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา โดยมีตัวแทนกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลจำนวน4คนร่วมปฐมนิเทศและทำสัญญาในครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำสัญญาร่วมโครงการ

 

4 0

3. ป้ายไวนิลโครงการและโฟมบอร์ด สสส.

วันที่ 20 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ป้ายไวนิล2ผืน
-โฟมบอร์ด สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

4. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแล ครั้งที่ 1

วันที่ 23 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลครั้งที่1 ให้ความรู้ความเข้าใจประเด็นผัก ผักปลอดภัยและเเต่งตั้งคณะทำงานอย่างชัดเจน ณที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรกลุ่มจือนือรงดาเเลมีความรู้ความเข้าใจประเด็นผักปลอดภัยได้ขึ้นมาระดับหนึ่ง และทางกลุ่มได้จัตั้งคณะทำงานของกลุ่มทั้งหมด10คน

 

30 0

5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 3 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมจำนวน10คนและพี่เลี้ยงร่วมด้วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

 

10 0

6. เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกการใช้งานโปรแกรมรายการผลการดำเนินงานลงในระบบ -เพิ่มกิจกรรม -บันทึกกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถใช้งานโปรแกรมได้ สามารถเพิ่มกิจกรรมและบันทึกกิจกรรมได้ จัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

 

2 0

7. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 2

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเกษตรกรครั้งที่2 โดยมีสมาชิกร่วมประชุมทั้งหมด30คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

 

30 0

8. เวทีทบทวนบันไดผลลักธ์และออกแบบเก็บข้อมูลโครงการย่อย

วันที่ 15 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบการเก็บข้อมูลของโครงการย่อย โดยมีตัวแทนกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล 2คน ร่วมประชุมครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ณ ศาลากลางจังหวัดยะลา

 

2 0

9. พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผผักปลอดภัย ในครั้งนี้โดยมีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลทั้งหมด30คน ศึกษาดูงานที่อำเภอจะนะและอำเภอนาทวี จังหวัสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในครั้งนี้เกษตรกรได้รับความรู้ และไอเดียในการจัดการกับแปลงผักของตัวเองเมื่อประสบปัญหาน้ำท่วม หรือศัตรูพืชมารบกวน

 

35 0

10. เวทีพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

วันที่ 20 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เวทีประชุมเพื่อพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธสาสตร์ โดยมีตัวแทนกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล 2คนร่วมการประชุมครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

 

2 0

11. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 โดยมีคณะทำงาน 10 คนและพี่เลี้ยงร่วมด้วย ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเเล

 

10 0

12. อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการเตรียมดิน

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการทำปุยหมักชีวภาพและการเตรียมดิน โดยมีตัวแทนจากเกษตรอำเภอกรงปินังมาถ่ายทอดความรู้ในครั้งนี้และมีสมาชิกกลุ่มและชาวบ้านที่สนใจร่วมการอบรมในครั้งนี้ จัดขึ้นที่แปลงผักกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรสามารถนำความรู้และทักษะการทำปุ๋ยใช้ในแปลงผัก การเตรียมดินได้จริง จากเดิมที่ทำแบบที่ได้สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น อาจจะมีที่ทำไปด้วยความรู้แบบไม่ถูก ไม่ควร
ทั้งนี้เกษตรกรสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ได้จริง

 

105 0

13. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 3

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุมเกษตรกรจือนือรงดาเเลจำนวน 30 คน ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการกำจัดศัตรูพืช วิธีแก้ไขและวิธีรับมือกับศัตรูพืช ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรมีความรู้ที่ได้รับการสืบทอดมายังรุ่นสู่รุ่น และสามารถมาใช้ประโยชน์ได้ถึงปัจจุบัน

 

30 0

14. เวทีพัฒนาศักยภาพการรวมรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อยฯ โดยมีตัวเเทนกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลร่วมการประชุม 2 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ณสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

 

2 0

15. เวทีสมัชชา

วันที่ 3 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-เวทีสมัชชาจัดขึ้นที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา โดยมีตัวเเทนกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล 2 คน ร่วมประชุมเวทีสมัชชา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

16. สำรวจแปลงเพื่อจัดทำข้อมูลพื้นฐาน

วันที่ 15 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจแปลงสมาชิกกลุ่มจือนือรงดาเเลทั้งหมด -ปลูกพืชชนิดใด -จำนวนเท่าไหร่ -กี่ไร โดยมีคณะทำงาน10คนและพี่เลี้ยงร่วมการสำรวจครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทราบถึง -ชนิดผักที่ปลูก
-ปริมาณที่ปลูก -ใช้ในพื้นที่เท่าใด

 

10 0

17. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 3 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล โดยมีคณะทำงาน 10 คนร่วมในการประชุมครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงานร่วมประชุม 10 คน

 

10 0

18. ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานPGS

วันที่ 4 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หน่วยงานให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับPGS -PGSคืออะไร -PGSดีอย่างไร -PGSสำคัญอย่างไร ณที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับPGSมากขึ้น

 

30 0

19. เวทีถอดบทเรียน3

วันที่ 13 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เวทีถอดบทเรียน กลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลมีกลุ่มที่เข้มแข็งระดับหนึ่ง มีสมาชิกและคณะทำงานที่ชัดเจน มีความร่วมแรง ร่วมใจ และอุปสรรคภายในกลุ่มแต่เราก็สามารถแก้ไขและผ่านมาได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

 

10 0

20. ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานGAP

วันที่ 21 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

หน่วยงานมาให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับGAP -GAPคืออะไร -GAPดีอย่างไร โดยมีคณะหน่วยงานจากองค์การบริหารส่วนตำบลปูโรง มาให้ความรู้ความเข้าใจให้กับกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแล ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มจือนือรงดาเเลมีความเข้าใจเกี่ยวกับGAP -กลุ่มสามารถปรับเปลี่ยนในแปลงผักได้

 

30 0

21. สำรวจแปลงและติดตามแปลงครั้งที่ 2

วันที่ 23 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจแปลงครั้งที่2 โดยมีคณะทำงาน 3คนร่วมด้วยพี่เลี้ยง สำรวจเเปลงของสมาชิกภายในกลุ่ม ณ แปลงผักกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

22. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 4

วันที่ 26 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงเรื่องเอกสารที่ต้องใช้สมัครตรวจสอบมาตรฐานGAPกับศวพ. 1.สำเนาบัตรประชาชน 2.สำเนาทะเบียนบ้าน 3.เอกสารที่ดิน โฉนด/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รวบรวมเอกสารของสมาชิกทั้งหมดในวันอาทิยต์27/04/64

 

30 0

23. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 27 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 โดยมีคณะทำงานทั้งหมด10คน ร่วมการประชุมในครั้งนี้ ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน 10 คนร่วมในการประชุมครี้งนี้

 

10 0

24. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา โดยมีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล2คน ร่วมในการประชุมครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

2 0

25. เวทีสังคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อย

วันที่ 24 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-กลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลมีความเติบโต มีความเข้มเเข็งในระดับ จากเดิมที่ไม่มีกลุ่มที่ชัดเจน บัดนี้กลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลมีคณะทำงาน มีกฏกติกาภายในกลุ่ม มีความร่วมมือ ร่วมแรงเพื่อพัฒนากลุ่มให้ดำเนินตามเป้าหมาย ณโรงแรมปาค์วิว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลมีกลุ่มที่ชัดเจน มีสมาชิก30คน และคณะทำงาน10คน

 

2 0

26. ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 5

วันที่ 22 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลครั้งที่5 ณที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาแล ในครั้งนี้มีการรวบรวมเอกสารเพื่อใช้ในการรับรองมาตรฐาน Gap โดยมีเอกสาร Gap 3ฉบับดังนี้ -สำเนาบัตรประชาชน -สำเนาทะเบียนบ้าน -สำเนาโฉนดที่ดิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รวบรวมเอกสารของกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเล -สำเนาบัตรประชาชน -สำเนาทะเบียนบ้าน -สำเนาโฉนดที่ดิน

 

30 0

27. อบรมให้ความรู้และทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 30 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์ มีคุณฆอรอเฮง ซึ่งเป็นตัวเเทนจากเกษตรอำเภอกรงปินังเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในครั้งนี้ และกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาเเลเข้าร่วมการอบรมในครั้งนี้ ณ ที่ทำการกลุ่มจือนือรงดาเเล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรกลุ่มจือนือรงดาเเลสามารถนำความรู้เเละทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์มาใช้ในแปลงผักได้จริง

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในด้านเกษตรปลอดภัยครบวงจร
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1.1 เกษตรกรในกลุ่มจือนือรงดาแล มีการจัดประชุมทุก 2 เดือน และประชุมพร้อมหน่วยงาน 3 เดือนครั้ง จัดตั้งคณะทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1.2 เกษตรกรในกลุ่มจือนือรงดาแล มีทักษะสามารถผลิตผักปลอดภัยตามแผนการจัดการของกลุ่ม นำความรู้ในการปลูกผักปลอดภัยไปใช้ในกลุ่ม อย่างน้อย ร้อยละ 80 โดยทางกลุ่มมีเกณฑ์การประเมิน การปลูกผักปลอดภัยของสมาชิกในกลุ่ม
0.00

 

2 เพื่อสร้างมาตรฐานรับรองผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง ขยายช่องทางการตลาด และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 2.1 กลุ่มจือนือรงดาแล มีตราสัญลักษณ์นับรองผลผลิต ตามมาตรฐาน PGS หรือ GAP ตัวชี้วัดที่ 2.2 โรงเรียนบ้านโฉลง และหน่วยงานอื่นๆในพื้นที่ มีการใช้ผักปลอดภัยจากกลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 2.3 พื้นที่ ม.1 ต.ปุโรง ขยายพื้นที่ปลูกผัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร และสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในด้านเกษตรปลอดภัยครบวงจร (2) เพื่อสร้างมาตรฐานรับรองผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มจือนือรงดาแล ตำบลปุโรง ขยายช่องทางการตลาด และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มและจัดตั้งคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานระดับตำบล อำเภอ จังหวัด (2) กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการกำจัดศัตรูพืช (4) กิจกรรมที่ 4 อบรมและพัฒนาผักปลอดภัยให้ได้มาตรฐาน PGS  /GAP (5) กิจกรรมที่ 5 ประชุมร่วมกับหน่วยจัดการ (6) อบรมให้ความรู้และทักษะการทำปุ๋ยอินทรีย์ (7) สรุปโครงการ (8) ประชุมขับเคลื่อน หน่อยงานจัดการระดับจังหวัด (9) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการย่อย (10) ป้ายไวนิลโครงการและโฟมบอร์ด สสส. (11) อบรมทำปุ๋ย (12) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแล ครั้งที่ 1 (13) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (14) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (15) สำรวจแปลงเพื่อจัดทำข้อมูลพื้นฐาน (16) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 2 (17) เวทีทบทวนบันไดผลลักธ์และออกแบบเก็บข้อมูลโครงการย่อย (18) พัฒนาศักยภาพ/ศึกษาดูงานต้นแบบความสำเร็จของการจัดการสวนผักปลอดภัย (19) เวทีพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (20) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (21) อบรมการทำปุ๋ยชีวภาพและการเตรียมดิน (22) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 3 (23) เวทีพัฒนาศักยภาพการรวมรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (24) เวทีสมัชชา (25) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (26) ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานPGS (27) เวทีถอดบทเรียน3 (28) ประชุมหน่วยงานพร้อมสมาชิกในกลุ่มทำความเข้าใจมาตรฐานGAP (29) สำรวจแปลงและติดตามแปลงครั้งที่ 2 (30) ประชุมกลุ่มเกษตรกรจือนือรงดาแลครั้งที่ 4 (31) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (32) ประชุมสมาชิกลุ่มจือนือรงดาแลครั้งที่ 4 (33) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (34) เวทีสังคราะห์และสกัดบทเรียนโครงการย่อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ขับเคลื่อนเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดโรค กลุ่มจือนือรงดาแล จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-00175-0017

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมุลกิส มะซง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด