Node Flagship

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ ”

ม.3 ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซฟียะห์ มอซู

ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ

ที่อยู่ ม.3 ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 63001750023 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง ในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ และ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุทางท้องถนนเป็นสาเหตุสําคัญของการบาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชน รวมทั้งทําให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน อาทิเช่น ปัจจัยด้านพฤติกรรมของ  ผู้ขับขี่
  ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านบริหารจัดการ และจากข้อมูลสถานการณ์อุบัติเหตุของจังหวัดยะลา (ข้อมูล 3 ฐาน) พบว่าในปี พ.ศ. 2562 อำเภอกรงปินัง มีผู้เสียชีวิต
จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเท่ากับ 1.61 ต่อแสนประชากร และเมื่อพิจารณาอัตราการเสียชีวิตจำแนกตามพื้นที่โดยใช้ข้อมูล ปี พ.ศ. 2561 พบว่า อำเภอกรงปินัง ไม่มีการเสียชีวิต แต่จะมีการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน จำนวน220 เหตุการณ์ มากสุด ม.3 กะดูโด๊ะ จะเห็นได้ว่า ม.1 ดุซงกูจิ ม.2 กูแย ม.4 สะเอะใน ม.5 แปแจง และ ม. 6 ตะโละสะโต ม่มีเหตุการณ์บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่เกิดจากอุบัติเหตุ เมื่อเปรียบเทียบกับ  ปี 2562 พื้นที่ บ้านม.3 กะดูโด๊ะ มีการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน จำนวน 249 เหตุการณ์ เสียชีวิต 4 ราย เมื่อเปรียบกับปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า จำนวนผู้บาดเจ็บมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆและมีแนวโน้มผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่มีการเสียชีวิต ในภาพรวมอำเภอกรงปินัง ปี 2562 จำนวนผู้บาดเจ็บ 249 คน เสียชีวิต 4 คน เกิดอุบัติเหตุในสายหลัก 133 คน สายรอง 116 คน ซึ่งสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ คือ ผู้ขับขี่ขาดวินัยกดจราจร 133 คน ผู้โดยสาร 54 คน เกิดจากการเดินเท้า 13 คน อื่นๆไม่ทราบสาเหตุ 49 คน   ในภาพรวมจังหวัด ปี พ.ศ. 2562 มีจำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 เมื่อจำแนกตามรายอำเภอ พบว่าเมืองยะลา ร้อยละ 6.0 (53 คน), เบตง 10.4 (12 คน) ปี 2560 อัตราตาย 7.6 ,ปี 2561 อัตราตาย 6.3 1.1 สถานการณ์ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน/หมู่บ้าน พื้นที่ของอำเภอกรงปินัง มี 4 ตำบล 23 หมู่บ้าน ประกอบ กรงปินัง(Krong Pinang) 9 หมู่บ้าน สะเอะ(Sa-e) 6 หมู่บ้าน ห้วยกระทิง(Huai Krathing) 4 หมู่บ้าน ปุโรง (Purong) 4 หมู่บ้าน ปี 2563 มีประชากร ชาย 14,816 คน หญิง 14,560 คน รวม 29,376คน จำนวนครัวเรือ 651 ครัวเรือน โดยพื้นที่ที่เกิดเหตุบ่อยที่สุดคือพื้นที่ตำบลสะเอะ หมู่บ้าน ดังนี้ บ้านสะเอะ(Sa-e) มี 6 หมู่บ้าน หมู่ที่ 3
บ้านกะดูโด๊ะ มีจำนวนประชากรทั้งหมด 29,376 คน 651 ครัวเรือน มีหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนถนนสายหลักเส้นที่ผ่านไปบันนังสตา ยะหา ยะลา มี 2 หมู่บ้านคือ หมู่ 3 บ้านสะเอะ หมู่ 1 บ้านกรงปินัง ซึ่งมีการเกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อย สาเหตุมาจากการที่ผู้ขับขี่ไม่มีจิตสํานึก วินัยจราจร ขับรถด้วยความเร็วสูง เมาสุรา ขณะขับขี่ทั้งรถจักรยานยนต์และรถยนต์ เนื่องจากพฤติกรรมการขับขี่ การไม่เคารพกฎจราจร และมีทางแยกเข้าหมู่บ้านหลายจุด ถนนเป็นทางโค้ง มีต้นไม้บังในบางจุด

โดยสาเหตุของการอุบัติเหตุทางถนนเหล่านี้เกิดจาก ด้านพฤติกรรมหลับใน ขับรถย้อนศร ไม่เคารพกฎจราจร เมาแล้วขับ สภาพร่างกายไม่พร้อมแล้วขับ เด็กแว๊น ประมาท ไม่มีความตระหนักและขับรถเร็ว ไม่สวมหมวกนิรภัย
ด้านกายภาพ ที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม คือ ฝนตกถนนลื่น ถนนชำรุด ถนนติดกับบ้านของชุมชน มีร้านคาริมทางทำให้มีการจอดรถบนไหล่ทาง มีสัตว์เลี้ยงบนท้องถนน ส่วนด้านสังคม คือเด็กขับรถ ผู้สูงอายุใช้รถ และวัยรุ่นเสพยาแล้วขับรถ ด้านกลไก ได้แก่ ไม่มีการบังคับใช้กฎหมายและไม่มีแกนนำซึ่งจากสาเหตุต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมดังนี้ จากพฤติกรรมการขับรถเร็ว ไม่สวมหมวกนิรภัยส่งผลให้เกิดความรุนแรงกับสุขภาพเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ได้แก่ การได้รับบาดเจ็บ การเสียชีวิตและพิการไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ส่งผลต่อทางด้านสังคมคือ ครอบครัวขาดผู้นำ ทำให้มีปัญหาครอบครัวและขาดยานพาหนะในการประกอบอาชีพ ทำให้ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ คือทำให้มีหนี้สินเพิ่มมากขึ้น ส่วนสภาพแวดล้อมทำให้การจราจรติดขัด
1.2 แนวทางการแก้ปัญหาการลดอุบัติเหตุบนท้องถนนตำบลสะเอะ จึงมีความจำเป็นที่ต้องดําเนินการอย่างจริงจัง เพื่อลดจํานวนอุบัติเหตุทางถนนและจํานวนผู้บาดเจ็บและ เสียชีวิตลงให้มากที่สุด โดยการรณรงค์เพื่อกระตุ้นเตือนประชาชนให้เกิดจิตสํานึก มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมในการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนน ซึ่งน่าจะ  เป็นทางเลือกใหม่ที่มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ควรมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังทั้งเรื่องการให้สวมหมวกกันน็อค การขับรถย้อนศร การจัดการเรื่องการจอดรถบนไหล่ทาง เป็นต้น ซึ่งหากมีการปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหา และหากแกนนำ และผู้นำชุมชนทำตัวเป็นแบบอย่างก็จะสามารถช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ 1.3 หากเราสามารถจัดการเรื่องการลดอุบัติเหตุได้ อัตราการเกิดอุบัติเหตุ การเสียชีวิต การบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุก็ลดลง ไม่มีการสูญเสีย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ครอบครัวไม่ต้องรับภาระเลี้ยงดูในกรณีทุพพลภาพ ทำให้ครอบครัวมีความอบอุ่นไม่ขาดผู้นำครอบครัว สามารถทำมาหาเลี้ยงชีพและใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง ในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ และ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพทีมจัดทำดครงการย่อย (กิจกรรมที่หน่วยจัดการกำหนด)
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดตั้งคณะทำงานและการประชุมคณะทำงานวางแผน
  3. กิจกรรมที่ 3 คนในชุมชนและเยาวชนเกิดความตระหนัก
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเดินรณรงค์เรื่องการสวมหมวกน็อคในพื้นที่
  5. กิจกรรมการประเมินและการเรียนรู้ ARE (กะดูโด๊ะ)
  6. กิจกรรมที่ 5 ประชุมถอดบทเรียนคณะทำงาน
  7. (ค่าจัดทำป้ายไวนิลป้ายชื่อโครงการ )
  8. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบ
  9. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส.หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัดฯ
  10. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่1 (ค้นหาคณะทำงาน/บทบาทหน้าที่กรรมการด้านอุบัติเหตุในหมู่บ้าน )
  11. ประชุมสร้างความเข้าใจแก่คนในชุมชน คืนข้อมูลให้คนในชุมชนฯ (แกนนำกลุ่มเยาวชน 100 คน)
  12. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ข้อตกลง กติการ่วมกัน อย่างต่อเนื่อง ( กิจกรรมติดตั้งป้ายไวนิล ณ จุดเสี่ยงในพื้นที่ คณะทำงาน คกก.อุบัติเหตุ 20 คน)
  13. ประชุมคณะทำงาน เพื่อทบทวนแผน (สร้างความเข้าใจแก่คนในชุมชน คณะทำงานกรรมการอุบัติเหตุ) 4 ครั้ง
  14. บุคคลต้นแบบในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ สวมหมวกนิรภัยให้เป็นแบบอย่างแก่ชุมชนฯ (ชุมชนรณรงค์สวมหมวกน็อคในพื้นที่)
  15. กิจกรรม เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย
  16. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่2 (ประชุมคณะทำงาน/คลี่โครงการเชิญชวนชี้เป้า)
  17. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่3 (ประชุมคณะทำงานและจัดเก็บข้อมูลจุดเสี่ยง ลดอุบัติเหตุในหมู่ 3 กะดูโดะ )
  18. เวทีทบทวนบันไดผลลัพท์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย
  19. จัดตั้งคณะทำงานและการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (ประชุมคณะทำงานลดอุบัติเหตุ ในหมู่ 3 กะดูโดะ )
  20. รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ …1…และติดตามรายงานความก้าวหน้ารายงานการเงิน ครั้งที่ 1
  21. รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ …2…..และติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานการเงิน ครั้งที่ 2
  22. ประชุมถอดบทเรียนคณะทำงาน
  23. สรุปผลการถอดบทเรียนตามแนวทาง CCAT (Community Coalition Action Theory) โครงการ ลดอุบัติเหตุ ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ARE ครั้งที่ 3 และติดตามความก้าวหน้ารายงานการเงิน ครั้งที่3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
-เยาวชนในพื้นที่ 2รุ่นๆละ 50 100
-แกนนำชุมชน/คณะทำงานกรรมการอุบัติเหตุ 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดแกนนำในชุมชน เยาวชนร่วมกันสามารถขับเคลื่อนงานได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างแบ่งงานชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีข้อมูล มีแผนการดำเนินงานร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและขยายผลกิจกรรม
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 แกนนำมีทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและจุดเสี่ยง ผลลัพธ์ที่ 2 คนในชุมชนและเยาวชนเกิดความตระหนัก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 เกิดกติกา ข้อตกลง เยาวชน แกนนำชุมชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 เกิดกติกาชุมชน ชุมชนมีความรู้ความตระหนัก ผลลัพธ์ที่ 3 เกิดกลไกเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 แกนนำมีการติดตามเฝ้าระวัง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีข้อมูลการปรับพฤติกรรม

ผลลัพธ์ที่ 4 -เยาวชน คนในชุมชนได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสวมหมวกกันน็อค -สภาพแวดล้อมได้รับการปรับเปลี่ยนการแก้ไขลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 ประชาชน/เยาวชนมีการสวมหมวกกันน็อคเพิ่มขึ้น 50% จากประชากรผู้ขับขี่ ผลลัพธ์ที่ 5 อุบัติเหตุลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 KPI 1 อัตรา การตายลดลง ๕๐% จากเดิม ตาย 4 =100 เป้าหมายลดลงร้อยละ 50
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 KPI ๒ อัตรา บาดเจ็บ ลดลง ๕๐% จากเดิม บาดเจ็บ 249 =100 เป้าหมายลดลงร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. (ค่าจัดทำป้ายไวนิลป้ายชื่อโครงการ )

วันที่ 24 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าออกแบบและจัดทำป้ายไวนิลป้ายชื่อโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และบรรไดผลลัพธ์โครงการ -ได้จัดทำป้ายไวนิลโครงการ และติดตั้งทุกครั้งที่จัดกิจกรรมของโครงการ โดยลักษณะป้ายจะเน้นย้ำระบุ ใส่รูปบุหรี่ เหล้า โลโก้ สสส. -จำนวนที่ทำไวนิล 2 ผืน
ป้ายไวนิลป้ายชื่อโครงการ หมู่ 3 กะดูโดะ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

 

2 0

2. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่1 (ค้นหาคณะทำงาน/บทบาทหน้าที่กรรมการด้านอุบัติเหตุในหมู่บ้าน )

วันที่ 26 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

แต่งตั้งคณะทำงาน/บทบาทหน้าที่กรรมการด้านอุบัติเหตุในหมู่บ้าน  จำนวน 20 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต แกนนำ คณะทำงานมาครบตามกลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ แกนนำมีการติดตามเฝ้าระวัง มีการติดตามข้อมูลการปรับพฤติกรรมประชาชนในชุมชน

 

20 0

3. กิจกรรม เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย

วันที่ 6 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกการใช้โปรแกรมรายงานผล
เพิ่มกิจกรรม บันทึกกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เพิ่มกิจกรรม 15 กิจกรรม ได้่ฝึกบันทึกกิจกรรม จำนวน  2 กิจกรรม

 

2 0

4. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่2 (ประชุมคณะทำงาน/คลี่โครงการเชิญชวนชี้เป้า)

วันที่ 26 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานและวางแผนการดำเนินงานคลี่โครงการ ชี้เป้าบันไดผลลัพธ์ ภายใต้โครงการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ โดยมีจุดเสี่ยง 3 จุดเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โดยมีจุดเสี่ยง 3 จุดเสี่ยง คือ

 

20 0

5. จัดตั้งคณะทำงานและประชุมคณะทำงานวางแผน ครั้งที่3 (ประชุมคณะทำงานและจัดเก็บข้อมูลจุดเสี่ยง ลดอุบัติเหตุในหมู่ 3 กะดูโดะ )

วันที่ 2 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงปฏิบัติงานในจุดพื้นที่เสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุในหมู่ 3 กะดูโดะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงปฏิบัติงานในจุดพื้นที่เสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุในหมู่ 3 กะดูโดะ
ได้แก่ 1.ทางเข้าหัวสะพาน 2. ทางโค้งกะดูโดะ 3. สามแยกหน้าโรงเรียนบ้านสะเอะ

 

20 0

6. เวทีทบทวนบันไดผลลัพท์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย

วันที่ 15 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดตามโครงการย่อย คือ เวทีทบทวนบันไดผลลัพท์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายละเอียดตามโครงการ ทำให้เกิดบันไดผลลัพท์และรวมกลุ่มสมาชิกแกนนำ

 

3 0

7. จัดตั้งคณะทำงานและการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (ประชุมคณะทำงานลดอุบัติเหตุ ในหมู่ 3 กะดูโดะ )

วันที่ 23 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย  ค้นหาคณะทำงาน การเตรียมพื้นที่ ก่อนลงพื้นที่ควรมีการเตรียมพื้นที่ล่วงหน้า  มีประเด็นในการเตรียม ควรประกอบด้วย   นัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ติดต่อประสานงาน ซึ่งควรประกอบด้วย คณะทำงาน ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายของ โครงการย่อย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในอำเภอกรงปินัง ได้แก่ โต๊ะอีหม่าม ผู้ใหญ่บ้านกะดูโด๊ะ แกนนำกลุ่มเยาวชนกะดูโด๊ะ และพี้เลี้ยงอำเภอกรงปินัง อส.ในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบโครงการ  รวมทั้งหมดควรอยู่ระหว่าง 20-25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีคณะทำงาน  20 คน
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ตามพื้นที่จุดเสี่ยง ผลลัพธ์ แกนนำมีการติดตามเฝ้าระวัง มีการติดตามข้อมูลการปรับพฤติกรรมประชาชนในชุมชน

 

20 0

8. ประชุมคณะทำงาน เพื่อทบทวนแผน (สร้างความเข้าใจแก่คนในชุมชน คณะทำงานกรรมการอุบัติเหตุ) 4 ครั้ง

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม คืนข้อมูลให้คนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น รู้จักตระหนักในการลดอุบัติเหตุมากขึ้น

 

7 0

9. ประชุมสร้างความเข้าใจแก่คนในชุมชน คืนข้อมูลให้คนในชุมชนฯ (แกนนำกลุ่มเยาวชน 100 คน)

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้กับแกนนำในหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3 กะดูโดะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำและประชาชนมีความรู้มากขึ้น ใส่ใจในการลดอุบัติเหตุในการขับขี่อย่างปลอดภัย

 

100 0

10. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ข้อตกลง กติการ่วมกัน อย่างต่อเนื่อง ( กิจกรรมติดตั้งป้ายไวนิล ณ จุดเสี่ยงในพื้นที่ คณะทำงาน คกก.อุบัติเหตุ 20 คน)

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้ประชาชนขับขี่ปลอดภัย ห่างไกลการเกิดอุบัติเหตุน้อยลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การลดอุบัติเหตุลดลง 1.อุบัติเหตุ  ก่อนทำโครงการ 249 ครั้ง เป้าหมาย 125 ครั้ง หลังทำโครงการ 76 ครั้ง
ลดลง ร้อยละ 60.80 2.ความรุนแรง  ขับรถเร็ว ก่อนทำโครงการ 252 ราย  หลังทำโครงการ 154 ราย
ลดลงร้อยละ 61.11 3. เสียชีวิต  ก่อนทำโครงการ 4 ราย  หลังทำโครงการ 0 ราย  ลดลง ร้อยละ 100.00 4. พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยก่อนทำโครงการ 315 ราย  หลังทำโครงการ 221 ราย
    ลดลงร้อยละ 70.15 5. พฤติกรรมขับรถย้อนศร ก่อนทำโครงการ 95 ราย  หลังทำโครงการ 80 ราย ลดลงร้อยละ 84.21

 

20 0

11. บุคคลต้นแบบในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ สวมหมวกนิรภัยให้เป็นแบบอย่างแก่ชุมชนฯ (ชุมชนรณรงค์สวมหมวกน็อคในพื้นที่)

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อทบทวนการดำเนินงานที่ผ่าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความตระหนักในการดำเนินงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมา

 

100 0

12. ประชุมถอดบทเรียนคณะทำงาน

วันที่ 4 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้คณะทำงานสรุปถอดบทเรียนการดำเนินงานกิจกรรมที่ผ่านมา พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานมากขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานครั้งต่อไป

 

7 0

13. รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ …1…และติดตามรายงานความก้าวหน้ารายงานการเงิน ครั้งที่ 1

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร โครงการย่อยเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับพื้นที่) ขั้นเตรียมก่อนลงพื้นที่ พี่เลี้ยง -ทำการศึกษา /ทบทวนรายละเอียดโครงการ ต้นไม้ปัญหา บันไดผลลัพธ์  ข้อมูลสถานการณ์ในชุมชนกะดูโด๊ะ  ข้อมูล ประวัติชุมชน ด้านภูมิศาสตร์ การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้] ท้องที่อำเภอกรงปินังประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่ -องค์การบริหารส่วนตำบลกรงปินัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกรงปินังทั้งตำบล -องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสะเอะทั้งตำบล -องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลห้วยกระทิงทั้งตำบล -องค์การบริหารส่วนตำบลปุโรง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปุโรงทั้งตำบล -ทีมงานประสานพื้นที่ประชาสัมพันธ์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน กำหนดวัน เวลา สถานที่
-เตรียมกระบวนการคณะกรรมการอุบัติเหตุ ประธานโครงการ ในการดำเนินโครงการให้เข้าใจและมีความชัดเจน สามารถดำเนินการได้ -พี่เลี้ยงร่วมกันกำหนด วันเวลา สถานที่ อย่างชัดเจนในการดำเนินงาน ขั้นดำเนินการ (ลงพื้นที่)
1.พี่เลี้ยง ประกอบด้วย พี่เลี้ยงอุบัติเหตุ พี่เลี้ยงโรงพยาบาล ลงพื้นที่ร่วมเวที ARE การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของ       ชุมชน ตามวันเวลา สถานที่ ดังกล่าว
2.พี่เลี้ยง แนะนำตัวเอง แจ้งวัตถุประสงค์ที่ได้รับมอบหมายเป็นพี่เลี้ยงให้ ชุมชนทราบ
  แจ้งวัตถุประสงค์การลงเยี่ยมเรียนรู้การทำงานเพื่อการพัฒนา และขอความร่วมมือจากผู้เข้าประชุมร่วมแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงานตามบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 1
  ประธานโครงการได้เล่าถึงกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้ว มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็นกันระหว่างกันอย่างเป็นกันเองในบรรยากาศที่สนุกสนาน และพูดคุยปัญหาอุปสรรค การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ให้ชุมชนทราบ จากการดำเนินงานที่ผ่านมาในบันได ขั้นที่ 1 เพื่อเข้าสู่เป้าหมายต่อไปในขั้นที่ 2  มีสาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้
        -กิจกรรมสามารถดำเนินการได้ตามแผน  เวทีได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ผู้เข้าร่วมฟังสรุปผลงานดำเนินงาน เช่น ผู้นำชุมชน อส.อสม. พี่เลี้ยง รพ. โต๊ะอีหม่าม ผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้านกะดูโดะ ต่างแสดงความคิดเห็นข้อมูลอุบัติเหตุ ที่สังเกต และเก็บข้อมูลในชุมชนตัวเอง มาคุยกัน
-พี่เลี้ยงจังหวัด ให้เพิ่มประเด็นข้อมูลการสำรวจข้อมูลเพื่อให้ทีมงานมีข้อมูลอุบัติเหตุที่หลากหลาย -พี่เลี้ยงจังหวัดได้แลกเปลี่ยนข้อมูล เจ้าหน้าที่ธุรการจดบันทึกรายงานการประชุม เพื่อรวบรวมข้อมูล กลับไปวิเคราะห์และส่งต่อข้อมูล รายงานในระบบคนใต้สร้างสุขต่อไป
    1) การสำรวจข้อมูลพฤติกรรม ที่ส่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น อุบัติเหตุบนท้องถนน รายงานการเกิดอุบัติเหตุจราจร ในสถานที่ซ้ำซาก ในสัปดาห์  7 ครั้ง/สัปดาห์  โดยมีผู้บาดเจ็บ 36 คน/สัปดาห์  โดยจะพบว่า จุดเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง คือบริเวณหน้ามัสยิดกะดูโด๊ะ สะเอะ จำนวน 1 เหตุการณ์/สัปดาห์ ซึ่งได้สอดคล้องกับเป้าหมายที่จะดำเนินงานโครงการดังกล่าวฯ
 
ขั้นหลังดำเนินการ (หลังลงเวที)           -พี่เลี้ยงสรุปประเด็นที่ได้จากการพูดคุย และเสริมพลังให้กลุ่มเห็นจุดแข็งของกลุ่มทีมงาน และชุมชนถึงความเป็นไปได้ที่จะบรรลุผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย เกิดลดอุบัติเหตุบนท้องถนนอย่างน้อยร้อยละ 50 การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุอย่างน้อยร้อยละ 50 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ (ใคร) สมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน เครือข่าย…………จำนวน…40….คน

• คณะทำงาน………10………คน • กลุ่มเป้าหมาย……20…………คน • ภาคี……10…………คน 3. ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง คณะทำงานโครงการย่อย ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) ขั้นตอนดำเนินการ 1.ช่วงเริ่มต้นก่อนเข้าสู่กระบวนการ 1.1 ประธานกล่าวต้อนรับ และชี้แจงวัตถุประสงค์การนัดหมายมาครั้งนี้
12 ทีมพี่เลี้ยงแนะนำตัวเองให้สมาชิกที่มาประชุมได้รู้จัก ทักทายกัน 2.ช่วงเข้าสู่กระบวนการ 2.1 พี่เลี้ยงอำเภอ มอบประธานอุบัติเหตุ ดำเนินการโดยการเล่าถึงกิจกรรมตามบันไดผลลัพธ์ที่ดำเนินการไปแล้ว ซึ่งในระหว่างาการเล่า โดยทีมพี่เลี้ยงเป็นผู้ฟัง จับประเด็น ซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างคณะทำงาน และพี่เลี้ยงในลักษณะการสื่อสาร 2.3 การสื่อสารระหว่างกันเน้นการใช้ภาษามลายูถิ่นผสมผสานกับภาษาไทย บรรยากาศก็ดี 2.4 ประเด็นพูดคุยยึดกิจกรรมตามผลลัพธ์เป็นหลัก (ยกบันไดผลลัพธ์มาดูกัน)
3.ช่วงสิ้นสุดกระบวนการ
2.1 พี่เลี้ยงให้คณะทำงานซักถามปัญหาเพิ่มเพิ่มเติม
2.2 เจ้าหน้าที่ธุรการ สรุปประเด็นพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน
2.3 พี่เลี้ยงอำเภอ ให้ข้อเสนอแนะสุดท้าย
2.4 ประธานโครงการปิดการพูดคุยแลกเปลี่ยน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการติดตามประเมินผลครั้งที่  ..1....  (ผลลัพธ์ เกิด ไม่เกิด เพราะอะไร มีหลักฐานอะไรสนับสนุน)
ผลลัพธ์ที่คาดไว้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ข้อมูลผลที่เกิดขึ้นจริงและหลักฐานที่พบ เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนที่เข้มแข็งในชุมชนกะดูโด๊ะ 1.คณะทำงานแกนนำชุมชน เยาวชนร่วมกันสามารถขับเคลื่อนงานได้  -มีโครงสร้างคณะทำงานชัดเจน -วิเคราะห์ และการวางแผนโดยใช้ข้อมูลเป็นฐานควรได้รับการพัฒนา
2.มีข้อมูลพื้นฐานพฤติกรรม -ได้ข้อมูลพฤติกรรมเยาวชนที่ทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ
3.มีแผนการอบรมที่ชัดเจน จะทำแผนการอบรม เดือนสิงหาคม  2563 ประสานการดำเนินงาน ส่งต่อข้อมูลในทีม/ชุมชน 4.เกิดข้อตกลงของกลุ่ม มีข้อตกลงของกลุ่ม จะทำไวนิลติดลานประชุมบ้านผู้ใหญ่บ้านกะดูโด๊ะ 5.เวทีประชาคมคืนข้อมูล ดำเนินการแล้วเสร็จ 30 กันยายน 2563

 

20 0

14. รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ …2…..และติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานการเงิน ครั้งที่ 2

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

แนวทางการติดตามสนับสนุนโครงการย่อยสำหรับหน่วยจัดการจังหวัด 1. การเตรียมพื้นที่ ก่อนลงพื้นที่ควรมีการเตรียมพื้นที่ล่วงหน้า  โดยมีประเด็นในการเตรียม ควรประกอบด้วย 1.1)   นัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ติดต่อประสานงาน ซึ่งควรประกอบด้วย คณะทำงาน ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายของ โครงการย่อย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในอำเภอกรงปินัง ได้แก่ โต๊ะอีหม่าม ผู้ใหญ่บ้านกะดูโด๊ะ แกนนำกลุ่มเยาวชนกะดูโด๊ะ และพี้เลี้ยงอำเภอกรงปินัง อส.ในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบโครงการ  รวมทั้งหมดควรอยู่ระหว่าง 20 คน
2. ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม 1.1) ควรมีการจับคู่กันระหว่างพี่เลี้ยง เพื่อช่วยในการจัดกระบวนการ พี่เลี้ยงจะต้องทำหน้าที่เป็นวิทยากรกระบวนการ ตั้งคำถาม และกระตุ้นเป็นหลัก 1.2) เริ่มจากการชี้แจงถึงวัตถุประสงค์การติดตามสนับสนุน และประโยชน์ที่จะได้รับ 1.3) ดำเนินการตามขั้นตอน 1.4) การสะท้อนผลลัพธ์ ให้เปรียบเทียบข้อมูลก่อนหลังการดำเนินงาน และมีหลักฐาน ชี้วัดความสำเร็จ พี่เลี้ยงช่วยกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วม
1.5) ให้ชุมชนประเมินตัวเองว่าถ้าให้ 10 คะแนน ให้คะแนนเท่าไหร่ เพราะอะไร จะทำอย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม 1.6) ขอดูรายงานการเงิน และรายงาน ส.1 และควรดูรูปธรรมจากการดำเนินโครงการ และบันทึกภาพ 1.7) สรุปและให้คำแนะนำในตอนท้ายของการประชุมอย่างสร้างสรรค์ เป็นลักษณะเชิงบวกและเสริมกำลังใจ นัดหมายแผนงานต่อไป
3. หลังดำเนินการ พี้เลี้ยงติดตามการรายงานผลการการเบิก-จ่ายทางการเงินทีมโครงการย่อย เพื่อตรวจสอบว่ามีการเบิก-จ่ายตามแนวทางที่ สสส.กำหนดหรือไม่ และแนะนำทีมโครงการย่อยให้มีการใช้จ่ายเงินโดยดำเนินงานตามแผนงานจะดีที่สุด  หลังจากการติดตาม ควรทำรายงานทันที ไม่ควรปล่อยไว้นานเพราะอาจจะลืมข้อมูล โดยภาพรวม ปัญหาอุปสรรคสามารถแก้ไขได้ทันท่วงที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อุบัติเหตุที่เกิดบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขลดลง จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่แก้ไขปรับปรุงลดลงจากเดิม     เป้าหมายจุดเสี่ยง 3 จุดเสี่ยง…การแก้ไขจุดเสี่ยง ได้รับการแก้ไข 4 จุดเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุจากเดิม 125 ครั้งลดลงเป็น 46 ครั้ง

 

20 0

15. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส.หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัดฯ

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่เข้าร่วมกับ Node องค์ความรู้ต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์
1. อุบัติเหตุ  ก่อนทำโครงการ 249 ครั้ง เป้าหมาย 125 ครั้ง หลังทำโครงการ 76 ครั้ง
ลดลง ร้อยละ 60.80 2. ความรุนแรง  ขับรถเร็ว ก่อนทำโครงการ 252 ราย  หลังทำโครงการ 154 ราย
ลดลงร้อยละ 61.11 3. เสียชีวิต  ก่อนทำโครงการ 4 ราย  หลังทำโครงการ 0 ราย  ลดลง ร้อยละ 100.00 4. พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยก่อนทำโครงการ 315 ราย  หลังทำโครงการ 221 ราย
    ลดลงร้อยละ 70.15 5. พฤติกรรมขับรถย้อนศร ก่อนทำโครงการ 95 ราย  หลังทำโครงการ 80 ราย ลดลงร้อยละ 84.21

 

20 0

16. ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบ

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

รายงานฉบับสมบูรณ์ กระบวนการดำเนินการถอดบทเรียน 1. ผู้รับทุน และคณะทำงานดำเนินงานและสรุปผลงานตามบันไดผลลัพธ์ 2. กิจกรรมระดมสมอง สมาชิกแนะนำตนเอง บทบาทหน้าที่ และความประทับใจในโครงการ ทำให้เกิดการทำงานเชื่อมโยงกัน เกิดกลไกการขับเคลื่อนดำเนินงาน 3. กิจกรรมระดมสมอง ปัญหาและทางออก การแก้ไข  ความภูมิใจ 4. กิจกรรมระดมสมอง มองเห็นถึงปัญหา และการใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ไขโดยชุมชน สิ่งที่ยังต่อยอดได้ในชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนงานที่ดีเกิดผลลัพธ์ที่ดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานฉบับสมบูรณ์ ผลลัพธ์
1. อุบัติเหตุ  ก่อนทำโครงการ 249 ครั้ง เป้าหมาย 125 ครั้ง หลังทำโครงการ 76 ครั้ง
ลดลง ร้อยละ 60.80 2. ความรุนแรง  ขับรถเร็ว ก่อนทำโครงการ 252 ราย  หลังทำโครงการ 154 ราย
ลดลงร้อยละ 61.11 3. เสียชีวิต  ก่อนทำโครงการ 4 ราย  หลังทำโครงการ 0 ราย  ลดลง ร้อยละ 100.00 4. พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยก่อนทำโครงการ 315 ราย  หลังทำโครงการ 221 ราย
    ลดลงร้อยละ 70.15 5. พฤติกรรมขับรถย้อนศร ก่อนทำโครงการ 95 ราย  หลังทำโครงการ 80 ราย ลดลงร้อยละ 84.21

 

1 0

17. สรุปผลการถอดบทเรียนตามแนวทาง CCAT (Community Coalition Action Theory) โครงการ ลดอุบัติเหตุ ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ARE ครั้งที่ 3 และติดตามความก้าวหน้ารายงานการเงิน ครั้งที่3

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กระบวนการดำเนินการถอดบทเรียน 1. ผู้รับทุน และคณะทำงานดำเนินงานและสรุปผลงานตามบันไดผลลัพธ์ 2. กิจกรรมระดมสมอง สมาชิกแนะนำตนเอง บทบาทหน้าที่ และความประทับใจในโครงการ ทำให้เกิดการทำงานเชื่อมโยงกัน เกิดกลไกการขับเคลื่อนดำเนินงาน 3. กิจกรรมระดมสมอง ปัญหาและทางออก การแก้ไข  ความภูมิใจ 4. กิจกรรมระดมสมอง มองเห็นถึงปัญหา และการใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ไขโดยชุมชน สิ่งที่ยังต่อยอดได้ในชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนงานที่ดีเกิดผลลัพธ์ที่ดี

. ขั้นเริ่มก่อตัว (Formation)
คณะทำงาน  เกิดจากทีม จากการที่มีทีมชุมชนเครือข่าย ประสานงานในพื้นที่ ได้ทราบปัญหาพื้นที่เบื้องต้นและสนใจโดยได้รับประสานการเป็นพื้นที่ต้นแบบของ Node จึงได้ประชุมร่างแนวทางการจัดตั้งคณะทำงานเครือข่ายกะดูโด๊ะ สะเอะ คณะทำงานจำนวน 20 คน มีผู้ใหญ่บ้าน กะดูโด๊ะเป็นที่ปรึกษาโครงการ แกนนำชุมชน เป็นประธาน  และผู้รับทุน  คณะทำงาน ซึ่งประกอบด้วย อสม. ผู้ใหญ่ อส. ครูสอนศาสนา ผู้นำศาสนาโต๊ะอิหม่าม จากตัวแทนหมู่บ้านมีส่วนร่วม  การประชาสัมพันธ์  ขับเคลื่อนกิจกรรมลงชุมชน
บทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน
1. ประชุมทำแผน 2. ร่วมกิจกรรม 3. ประสานข้อมูลจุดเสี่ยง รับผิดชอบจุดเสี่ยงแต่ละจุด 4. ประชุมติดตามความก้าวหน้างานที่มอบหมาย 5. นำเสนอต่อเครือข่าย  และภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่นสภาตำบล ชุมชน ที่ประชุมบ้านผู้ใหญ่บ้านเพื่อเสนอ ในสภาสันติสุขอำเภอต่อไป
2. ขั้นการดำรงอยู่ (Maintenance)
        กระบวนการและการดำเนินกิจกรรม จะมีเลขาโครงการเป็นผู้ประสานงานหลัก โดยขับเคลื่อนกิจกรรมตามขั้นตอนในบันไดผลลัพธ์ เหรัญญิก เป็นผู้จัดเตรียมเอกสารและการเบิกจ่ายงบประมาณ         ประธานโครงการ  และทีมอำนวยการ  คือผู้นำในการจัดกิจกรรมของคณะทำงาน  คณะทำงานจะเป็นผู้นำในการขับเคลื่อนประสานงานโครงการลงสู่ชุมชน  และคณะทำงานทุกคนจะสามารถเป็นตัวแทนของโครงการนำเสนอในเวทีที่ตนเข้าร่วมได้ โดยจะมีการรายงานในการประชุมคณะทำงานทุกเดือน 3. เกิดความยั่งยืน (Institutionalization) โครงการนี้มีกิจกรรมที่เป็นต้นแบบ  ให้คณะทำงานขับเคลื่อนต่อเนื่องได้ โดยเฉพาะทีมคณะทำงานจะยังคงจัดกิจกรรมการประชุมประจำเดือนอยู่อย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการขับขี่ปลอดภัย ในกลุ่มเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง  อาจจะต้องมีกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่องๆจากพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายจะเปลี่ยนต้องอาศัยการบงเพาะอย่างสม่ำเสมอ ความภาคภูมิใจ  ได้แก่ 1. เรามีทีมเข้มแข็ง  “คนสำราญ งานสำเร็จ” 2.  สถิติดีขึ้น  อุบัติการณ์ลดลง สุขภาพประชาชนดีขึ้น
3. พฤติกรรมเยาวชนเปลี่ยน  “รถซิ่งไม่มาก ช้าลงนะ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์
1. อุบัติเหตุ  ก่อนทำโครงการ 249 ครั้ง เป้าหมาย 125 ครั้ง หลังทำโครงการ 76 ครั้ง
ลดลง ร้อยละ 60.80 2. ความรุนแรง  ขับรถเร็ว ก่อนทำโครงการ 252 ราย  หลังทำโครงการ 154 ราย
ลดลงร้อยละ 61.11 3. เสียชีวิต  ก่อนทำโครงการ 4 ราย  หลังทำโครงการ 0 ราย  ลดลง ร้อยละ 100.00 4. พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยก่อนทำโครงการ 315 ราย  หลังทำโครงการ 221 ราย
    ลดลงร้อยละ 70.15 5. พฤติกรรมขับรถย้อนศร ก่อนทำโครงการ 95 ราย  หลังทำโครงการ 80 ราย ลดลงร้อยละ 84.21

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง ในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ และ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ : 1. อุบัติเหตุ ก่อนทำโครงการ 249 ครั้ง เป้าหมาย 125 ครั้ง หลังทำโครงการ 76 ครั้ง ลดลง ร้อยละ 60.80 2. ความรุนแรง ขับรถเร็ว ก่อนทำโครงการ 252 ราย หลังทำโครงการ 154 ราย ลดลงร้อยละ 61.11 3. เสียชีวิต ก่อนทำโครงการ 4 ราย หลังทำโครงการ 0 ราย ลดลง ร้อยละ 100.00 4. พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยก่อนทำโครงการ 315 ราย หลังทำโครงการ 221 ราย ลดลงร้อยละ 70.15 5. พฤติกรรมขับรถย้อนศร ก่อนทำโครงการ 95 ราย หลังทำโครงการ 80 ราย ลดลงร้อยละ 84.21 เชิงคุณภาพ : 1.พฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัย เห็นได้น้อย 2.พฤติกรรมขับรถย้อนศร ของประชาชนลดน้อยลงจากเดิม
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
-เยาวชนในพื้นที่ 2รุ่นๆละ 50 100 120
-แกนนำชุมชน/คณะทำงานกรรมการอุบัติเหตุ 20 25

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง ในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ และ เพื่อมีการติดตามเฝ้าระวังลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนบ้านกะดูโด๊ะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ม.3 กะดูโด๊ะ ตำบลสะเอะ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 63001750023

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโซฟียะห์ มอซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด