แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

เครือข่ายฅนสร้างสุข


“ ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้) ”

จังหวัดภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
นางกำไลสมรักษ์ นายเสนีย์ จ่าวิสูตร นายสุวิทย์ หมาดอาดัม

ชื่อโครงการ ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้)

ที่อยู่ จังหวัดภาคใต้ จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 60-ข-069

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้) จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ เครือข่ายฅนสร้างสุข ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้)



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดภาคใต้ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เครือข่ายฅนสร้างสุข เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 35 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หน่วยจัดการืพื้นที่ชุมชนน่าอยู่ในเขตภาคใต้ ขับเคลื่อนพื้นที่เป้าหมาย รวม 134 พื้นที่ มีการดำเนินงานร่วมกับภาคีในพื้นที่ และศูนย์วิชาการภาคใต้ (สจรส.มอ.) ได้ร่วมกันทบทวนข้อเสนอจากงานสร้างสุขปี 2559 และปีที่ผ่านมา พบว่ามีประเด้็นในการขับเคลื่อนงานเพิ่มขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในหลายด้าน ดังนั้น คณะทำงานโครงการจึงจัดทำโครงการเพื่อนำความรู้มาใช้ในการเสนอเป็นนโยบายสาธารณ ในงานสร้างสุขภาคใต้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาการสร้างสุขภาวะให้กับประชาชนผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่
  2. 2. เพื่อถอดบทเรียนและสังเคราะห์ชุดความรู้เพื่อการสร้างสุขคนใต้ผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมทีมพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่

    วันที่ 24 ธันวาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตัวแทนพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่และผู้บริหาร node ชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ รวม จำนวน 8 คน ประชุมทบทวนงานและกำหนดประเด็นการถอดบทเรียนพื้นที่เด่น

    2.พิจารณาเลือกพื้นที่และประเด็นที่จะถอดบทเรียน จำนวน 12 พื้นที่

    1. ร่างกำหนดการกิจกรรมชุมชนน่าอยู่ในงานคนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ตัวแทนพี่เลี้ยงชุมชนน่าอยู่และผู้บริหาร node ชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ รวม จำนวน 8 คน ประชุมทบทวนงาน และกำหนดประเด็นการถอดบทเรียน เพื่อนำข้อมูลไปใช้เผยแพร่ในงานคนใต้สร้างสุข

    2. พิจารณาเลือกพื้นที่และประเด็นที่จะถอดบทเรียน จำนวน 12 พื้นที่ ได้แก่ ประเด็นสภาผู้นำชุมชนเข้มแข็ง 1 พื้นที่ แผนชุมชนพึ่งตนเอง 1 พื้นที่ เศรษฐกิจครัวเรือน 4 พื้นที่ การจัดการขยะ 2 พื้นที่ การจัดการสิ่งแวดล้อม 2 พื้นที่และบริโภคผักปลอดสารเคมี 2 พื้นที่

    3. จัดทำฉบับร่างของกำหนดการลานโชว์ ชิม ช็อป แชร์ เชื่อม ชุมชนน่าอยู่

    วันแรก
    ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.เครือข่ายจัดเตรียมนิทรรศการในลานปัญญาชุมชน

    ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

    ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. เครือข่ายชุมชนน่าอยู่เข้าร่วมพิธีเปิดงานสร้างสุขภาคใต้

    ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๑

    ๑๔.๔๕ – ๑๕.๑๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๑

    ๑๔.๑๐ – ๑๔.๓๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๒

    ๑๕.๓๕ – ๑๕.๕๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๕.๕๕ – ๑๕.๒๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ประเด็นการจัดการขยะโดยชุมชน ๑

    ๑๕.๒๐ - ๑๕.๔๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ประเด็นการจัดการขยะโดยชุมชน ๒

    ๑๕.๔๕ – ๑๖.๐๐ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. เปิดลานโชว์ของดีวิถีชุมชนน่าอยู่

    วันที่สอง

    ๐๘.๓๐ – ๐๙.๑๕ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

    ๐๙.๑๕ – ๐๙.๔๐ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๑

    ๐๙.๔๐ – ๑๐.๐๕ น. โชว์ แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ๒

    ๑๐.๐๕– ๑๐.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๒

    ๑๐.๑๕ – ๑๐.๔๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นบริโภคผักปลอดสารเคมี ๑

    ๑๐.๔๐ – ๑๑.๐๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ประเด็นบริโภคผักปลอดสารเคมี ๒

    ๑๑.๐๕ – ๑๑.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๑.๒๕ – ๑๒.๔๕ น. เปิดลาน ชิม Shop อาหารเพื่อสุขภาพจากใจชุมชน

    ๑๒.๔๕ – ๑๓.๐๐ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๓

    ๑๓.๐๐ – ๑๓.๒๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ด้วยกลไกสภาผู้นำชุมชนเข้มแข็ง

    ๑๓.๒๕ – ๑๓.๕๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ด้วยแผนชุมชนพึ่งตนเอง

    ๑๓.๕๐ – ๑๔.๑๐ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๔.๑๐ – ๑๔.๑๕ น. การแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคใต้ชุดที่ ๔

    ๑๔.๑๕ – ๑๓.๔๐ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๓

    ๑๓.๔๐ – ๑๔.๐๕ น. แชร์รูปธรรมการขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ ด้วยเศรษฐกิจชุมชน ๔

    ๑๔.๐๕ - ๑๔.๒๕ น. เชื่อมภาคีที่สนใจประเด็นและซักถามข้อข้องใจกับเพื่อนภาคีที่นำเสนอ

    ๑๔.๒๕ – ๑๖.๓๐ น. เปิดลานให้เป็นพื้นที่กลาง เยี่ยมชม ซักถาม โชว์ แชร์ เชื่อม เพื่อนภาคี และแลกเปลี่ยนเพื่อเสนอข้อเสนอจากพื้นที่สู่ระดับนโยบาย

     

    15 0

    2. เวทีสังเคราะห์บทเรียน

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-12.00 น.
      พี่เลี้ยงและพื้นที่ช่วยกันเขียนงานวิชาการ “การสังเคราะห์บทเรียนพื้นที่ต้นแบบตามประเด็นเด่นของการขับเคลื่อนงานในพื้นที่” มี 8 หัวข้อย่อย
    ชื่อเรื่อง
    เรื่องย่อ
    ที่มา วัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย วิธีการ ผลการดำเนินงานและคุณค่าของโครงการ การขยายผลเชิงนโยบายสาธารณะ
    ข้อเสนอแนะ (สำหรับผู้สนใจการทำโครงการในครั้งต่อไป หรือ/และการต่อยอดโครงการ)

    13.00-17.00 น.
      พี่เลี้ยงและพื้นที่ นำเสนอจุดเด่นของงานเขียน เพื่อให้ทีมทั้งหมดช่วยเสนอแนะให้งานเขียนมีจุดเด่นเพื่อเรียนรู้และต่อยอดได้มากที่สุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเด็นเด่นและชื่อพื้นที่ เพื่อจัดทำเอกสารทางวิชาการ จำนวน 12 พื้นที่ ได้แก่ 1) เศรษฐกิจครัวเรือน ได้แก่ บ้านแพรกเมือง จ.นครศรีฯ และบ้านม่วงเงิน จ.ปัตตานี 2) การจัดการขยะ ได้แก่ บ้านท่าพรุ จ.กระบี่ บ้านมะดือลง จ.ยะลา และบ้านเขาสามล้าน จ.ชุมพร 3) ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ บ้านช่องฟืน จ.พัทลุง 4) บริโภคผักปลอดสารเคมี ได้แก่ บ้านหัวลำภู จ.นครศรีฯ และบ้านคู จ.พัทลุง 5) สภาผู้นำเข้มแข็ง ได้แก่ บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 4 จ.นครศรีฯ และทุ่งคางิ้ว จ.นครศรีฯ 6) การทำและใช้แผนชุมชนพึ่งตนเองขับเคลื่อนยุทธศาสตร์หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านพิตำ จ.นครศรีฯ และบ้านเกาะทองสมใหม่ จ.พัทลุง พี่เลี้ยงและพื้นที่นำข้อเสนอแนะจากเวทีในวันนี้ ไปเขียนงานวิชาการ และส่งงานเขียนให้ผู้ประสานงาน 3 โหนด ภายในวันที่ 2 มีนาคม 2561 เพื่อจะได้ส่งต้นฉบับให้ สจรส.มอ. ในวันที่ 5 มีนาคม 2561

     

    35 38

    3. พี่เลี้ยงและทีมวิชาการลงพื้นที่ถอดบทเรียน ครั้งที่ 1

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาการสร้างสุขภาวะให้กับประชาชนผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่
    ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลสถานการณ์ ชุมชนน่าอยู่ภาคใต้

     

    2 2. เพื่อถอดบทเรียนและสังเคราะห์ชุดความรู้เพื่อการสร้างสุขคนใต้ผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่
    ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลพื้นที่ต้นแบบจำนวน 10 พื้นที่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาการสร้างสุขภาวะให้กับประชาชนผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่ (2) 2. เพื่อถอดบทเรียนและสังเคราะห์ชุดความรู้เพื่อการสร้างสุขคนใต้ผ่านกลไกชุมชนน่าอยู่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชุมชนน่าอยู่ (โหนดภาคใต้) จังหวัด ภาคใต้

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกำไลสมรักษ์ นายเสนีย์ จ่าวิสูตร นายสุวิทย์ หมาดอาดัม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด