directions_run

อบรมพัฒนาเพิ่มศักยภาพกลุ่มองค์กรแกนนำภาคประชาสังคม ต.จอเบาะ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมพัฒนาเพิ่มศักยภาพกลุ่มองค์กรแกนนำภาคประชาสังคม ต.จอเบาะ
ภายใต้โครงการ ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมประชาภาคสังคม ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้
ภายใต้องค์กร องค์กร???
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 17 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 สิงหาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560
งบประมาณ 156,945.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนตำบลจอเบาะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลลาเต๊ะจาแจ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ก.ย. 2560 30 ธ.ค. 2560 156,945.00
รวมงบประมาณ 156,945.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องค์กรชุมชนในพื้นที่ตำบลจอเบาะ เกิดจากการรวมตัวกันของคนในชุมชนที่ต่างคนต่างอยู่แต่มารวมกันบนฐานปัญหาร่วมกัน ก่อเกิดการค้นหาคิดค้นวิธีการในการแก้ไขและจัดการ โดยในการรวมตัวกันนั้นต้องมีกระบวนการจัดการให้ผู้คนหรือสมาชิกนั้นๆ อยู่ร่วมกันได้อย่างเท่าเทียม และมีส่วนร่วม เกิดความตระหนักร่วมยึดเหนี่ยวร่วมและรู้สึกเป็นครอบครัวเดียวกัน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาต่างๆ ดำเนินไปได้อย่างลุล่วงแกนนำหมู่บ้านจึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง และตามแนวคิดพื้นฐานของวิธีการพัฒนาชุมชน คือ การช่วยให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งหมายถึง ประชาชนต้องช่วยกันในการพัฒนาตนเองไม่ใช่เป็นผู้รับการพัฒนาเท่านั้น ทั้งนี้เพราะผู้กระทำการพัฒนาจะเป็นผู้ได้รับประโยชน์ในการพัฒนาโดยตรง ดังนั้น การพัฒนาชุมชนแนวใหม่จึงเน้นการพัฒนาคน โดยยึดหลักสำคัญให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของตนเอง ด้วยตนเอง วิเคราะห์ตนเอง และเมื่อมีความพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงแล้วกระบวนการต่างๆ จะเกิดขึ้นเอง การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงเป็นเครื่องป้องกันว่า ผลแห่งการพัฒนาจะเกิดขึ้นกับประชาชนส่วนใหญ่ และยังเป็นการสร้างประชาธิปไตย ให้เกิดขึ้นในชุมชนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาอีกความหมายหนึ่งหมายถึงกระบวนการที่รัฐบาลทำการส่งเสริม สนับสนุนและสร้างโอกาสให้ประชาชนในชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องร่วมกันให้บรรลุวัตถุประสงค์และนโยบายการพัฒนาที่กำหนดไว้ ได้แก่ การร่วมคิด และสร้างรูปแบบ วิธีการพัฒนาเพื่อแก้ไข และลดปัญหาของประชาชน ปัญหาของประชาชน หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน และร่วมทำการศึกษาปัญหา สาเหตุของ ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนและความต้องการของชุมชน     ดังนั้นในการแก้ไขปัญหาและการจัดการจึงต้องเกิดจากฐานชุมชน ไม่ได้เกิดจากกลไกของรัฐมาทำให้การจัดการใดๆ ที่เกี่ยวพันกับชีวิตจึงต้องมีชุมชนเป็นแกนหลัก มีชาวบ้านเป็นตัวจักรสำคัญในการพัฒนาท้องถิ่นได้จัดโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพองค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำ ภายใต้แนวคิด “รู้จักตนเอง รู้จักครอบครัว รู้จักชุมชน พัฒนาคน พัฒนาท้องถิ่น”

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 7.00 6 152,001.00
3 ก.ย. 60 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่1 0 7.00 7,817.00
5 ต.ค. 60 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 0 0.00 7,817.00
14 ก.ค. 61 จัดอบรมปลูกข้าวปลูกข้าวพันธ์ุกระดังงาแลุะวิธีการทำปุ๋ยหมักน้ำคุณภาพสูง 0 0.00 46,200.00
14 ก.ค. 61 จัดอบรมกลุ่มสตรี 0 0.00 55,350.00
10 ส.ค. 61 จัดอบรมกลุ่มเยาวชน 0 0.00 27,000.00
10 ส.ค. 61 ประชุมคณะบริหารโครงการเพื่อผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอสู่สาธารณะ 0 0.00 7,817.00
10 ส.ค. 61 การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.ปี2560 0 0.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2561 13:55 น.