directions_run

พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส ”

ตำบลมะรือโบตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
อัดนัง อาแวบือซา

ชื่อโครงการ พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 157,600.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยรัฐบาลได้มีนโยบายการพูดคุยเพื่อสันติสุขกับบุคคลที่เห็นต่างจากรัฐ จึงมีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 230/2557 และที่ 92/2558 เรื่อง การจัดตั้งกลไกขับเคลื่อนกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้ ออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับนโยบาย : มีหน้าที่กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการพูดคุยและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า, ระดับคณะพูดคุยหลัก : มีเป้าหมายบุคคลที่เห็นต่างจากรัฐ (TRACK ๑) และระดับปฏิบัติในพื้นที่ : มีเป้าหมายกลุ่มภาคประชาสังคม (TRACK ๒) และกลุ่มผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไป (TRACK ๓) ซึ่งศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็นหน่วยงานสนับสนุนการพูดคุยสันติสุข เป็นผู้มีส่วนร่วมและมีบทบาทหน้าที่ ทั้งในระดับนโยบาย ระดับคณะพูดคุยหลัก และระดับปฏิบัติในพื้นที่ โดยมีหน้าที่สนับสนุนกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค ๔ ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค ๔ สน.) ในการขับเคลื่อนการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีและการพูดคุยสันติสุข ด้วยการสร้างสภาวะแวดล้อมและกระบวนการต่างๆ ที่สนับสนุนกระบวนการพูดคุยสันติสุข จชต. ศอ.บต.มีภารกิจตาม พรบ.การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๓ มาตรา ๙ (๑๐) กำหนดให้ ศอ.บต.มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และมาตรา ๙ (๔) ให้ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ดำเนินการตามแผนงานและโครงการต่อเนื่องจากแผนงานโครงการที่หน่วยงานของรัฐไม่อาจดำเนินการต่อไปได้ ซึ่งหากไม่ดำเนินการจะส่งผลเสียหายต่อการแก้ไขปัญหาตามยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยเหตุนี้ จำเป็นต้องส่งเสริมการสร้างกิจกรรมและสนับสนุนการทำงานเพื่อสังคม ให้กับภาคประชาสังคมที่มีความพร้อมในการร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามแนวทางของรัฐ ศอ.บต. จึงได้จัดทำ “โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้” ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

1 เพื่อให้ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามกรอบนโยบายการบริหาร จชต. รวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี 2 เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และต่างประเทศ มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
3 เพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข 4 เพื่อลดหรือยุติความรุนแรงและประเด็นต่างๆ ที่สร้างปัญหาหรือถูกบิดเบือนเกี่ยวกับ จชต. 5 เพื่อให้ภาคประชาสังคมต่างๆ มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมและสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๐)
  2. ปลูกพันธ์ไม้(กล้วย)
  3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพันธ์ไม้ รุ่นที่ ๑ ๑-การอบรม เรืองการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  4. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพันธ์ไม้ รุ่นที่ ๒ ๑-การอบรม เรืองการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  5. ปลูกพันธ์ไม้(มะนาว)
  6. ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๒ เดือนตุลาคม ๒๕๖๐)
  7. การอบรม เรื่องการเพาะเห็ด รุ่นที่ ๑
  8. การอบรม เรื่องการเพาะเห็ด รุ่นที่ ๒
  9. การอบรมเรื่องการแปลรูปอาหาร (จากกล้วย) รุ่นที่ ๑
  10. การอบรมเรื่องการแปลรูปอาหาร (จากกล้วย) รุ่นที่ ๒
  11. ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๓ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐)
  12. ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๔ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐)
  13. การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป     - วิธีการเข้าสู่หน้าเว็ปไซต์     - การสมัครสมาชิก     - กรณีสมาชิก ลืมรหัสผ่าน ส่วนที่ 2 รายละเอีนดโครงการ ส่วนที่ 3 การบันทึกผลการทำกิจกรรม การแก้ไขปัญหากิจกรรม
การลบบันทึก กิจกรรม ส่วนที่ 4 แบบบันทึกข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถเข้าสู่หน้า เว็บได้ สามารถการแก้ไขปัญหากิจกรรม สามารถลบบันทึก กิจกรรม

 

111 111

2. ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๐)

วันที่ 8 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อติดตามแสดงความคิดเห็นและหารือวิธีขับเคลื่อนโครงการ ที่ได้เสนอมาต่อภาคประชาสังคมฯ เดินทางและติดต่อประสานงาน จัดทำจ้างเหมาทำป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมพร้อมกัน จัดทำป้ายได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าไว้

 

10 10

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1 เพื่อให้ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามกรอบนโยบายการบริหาร จชต. รวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี 2 เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และต่างประเทศ มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3 เพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี และสร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข 4 เพื่อลดหรือยุติความรุนแรงและประเด็นต่างๆ ที่สร้างปัญหาหรือถูกบิดเบือนเกี่ยวกับ จชต. 5 เพื่อให้ภาคประชาสังคมต่างๆ มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมและสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๑ เดือนกันยายน ๒๕๖๐) (2) ปลูกพันธ์ไม้(กล้วย) (3) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพันธ์ไม้ รุ่นที่ ๑ ๑-การอบรม  เรืองการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ (4) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพันธ์ไม้ รุ่นที่ ๒ ๑-การอบรม  เรืองการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ (5) ปลูกพันธ์ไม้(มะนาว) (6) ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๒ เดือนตุลาคม ๒๕๖๐) (7) การอบรม เรื่องการเพาะเห็ด รุ่นที่  ๑ (8) การอบรม เรื่องการเพาะเห็ด รุ่นที่  ๒ (9) การอบรมเรื่องการแปลรูปอาหาร (จากกล้วย)  รุ่นที่ ๑ (10) การอบรมเรื่องการแปลรูปอาหาร (จากกล้วย)  รุ่นที่ ๒ (11) ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๓ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐) (12) ประชุมคณะทำงานมูลนิธิฯ (ครั้งที่ ๔ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐) (13) การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ต.มะรือโบตก อ.ระแงะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อัดนัง อาแวบือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด