directions_run

การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ ”

เขตพื้นที่ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด

ชื่อโครงการ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ

ที่อยู่ เขตพื้นที่ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำรงอยู่ร่วมกันของผู้คนในสังคมนั้น ย่อมมีความขัดแย้งเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งในระดับบุคคลหรือในระดับสังคม เนื่องจากโดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์มิได้ถือกำเนิดมาเหมือนกันทุกประการ หากมีความแตกต่างกันในหลายลักษณะนับแต่ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ ไปจนถึงสภาพแวดล้อมทางสังคม วีถีชีวิต ความเชื่อ ศาสนาและวัฒนธรรม แม้ว่าความแตกต่างโดยพื้นฐานในลักษณะต่างๆ ซึ่งมีความแตกต่างดังกล่าวนี้ มักเป็นบ่อเกิดของความขัดแย้งระหว่างคนต่างกลุ่มที่อยู่ร่วมกันในสังคม
ในบริบทของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปัจจุบัน ประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งในด้านนโยบายของรัฐ ฝ่ายรัฐเองจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม โดยหลีกเลี่ยงการใช้อำนาจในการให้ความชอบธรรมกับการใช้ความรุนแรงในทุกระดับ ด้วยรัฐบาลได้มีนโยบายการพูดคุยเพื่อสันติสุขกับบุคคลที่เห็นต่างจากรัฐ จึงมีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่๒๓๐/๒๕๕๗ และที่ ๙๒/๒๕๕๘ เรื่อง การจัดตั้งกลไกขับเคลื่อนกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้ ออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ๑.ระดับนโยบาย : มีหน้าที่กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการพูดคุยและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า ระดับคณะพูดคุยหลัก: มีเป้าหมายบุคคลเห็นต่างจากรัฐ๒.ระดับปฏิบัติในพื้นที่: มีเป้าหมายกลุ่มภาคประชาสังคม และกลุ่มผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไป ซึ่งศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นหน่วยงานสนับสนุนการพูดคุยสันติสุข เป็นผู้มีส่วนร่วมและมีบทบาทหน้าที่ ทั้งในระดับนโยบาย ระดับคณะพูดคุยหลัก และระดับปฏิบัติในพื้นที่ โดยมีหน้าที่สนับสนุนกองอำนวยการรักษาความมั่งคงภายในภาค ๔ ส่วนหน้า ในการขับเคลื่อนการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีและการพูดคุยสันติสุข ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมและกระบวนการต่างๆที่สนับสนุนกระบวนการพูดคุยสันติสุขในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัจจุบันสภาพสังคมเกิดความแตกแยก คนจำนวนมากอยู่ร่วมกับคนที่มีความเห็นต่างกันไม่ได้ จึงเกิดความขัดแย้งกัน หากเราเข้าใจความขัดแย้ง เราสามารถเรียนรู้หรือแก้ไขความขัดแย้งได้ แต่สิ่งที่ท้าทายก็คือการนำหลักความร่วมมือกันมาใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ของมวลมนุษย์และสันติวิธี ด้วยเหตุนี้สถาบันครอบครัวสุข ศานติ ขออาสาแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งทุกรูปแบบโดยสันติวิธีในการร่วมดำเนินการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาและร่วมกันพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามแนวทางของรัฐ ศอ.บต. จึงได้เสนอโครงการ ครอบครัวสุข ศานติ สู่สังคมสันติสุข ปลอดความขัดแย้งด้วยกระบวนการซูรอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี
  2. เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข
  3. เพื่อนำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนกาปงนิบง
  3. เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนมัสยิดยาเมร์
  4. เวที่พูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนบ้านบูเกะปาลัส
  5. อบรมเรื่องการบริหารจัดการกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  6. พิธีเปิดโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ
  7. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน
  8. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน
  9. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน
  10. ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  11. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับสัปบุรุษมัสยิดกามาลิดดีนบ้านกาบุ๊
  12. ระดมความคิด
  13. เวทีระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความ
  14. พบปะกลุ่มจิตอาสา
  15. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจาก
  16. สุข ศานติศีกษาสัญจร
  17. ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  18. ปิดโครงการ "เสวนาถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้ง
  19. ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน
  20. ประชุมร่วมกับเครือข่ายสายเชือกเดียวกัน
  21. สุข
  22. อบรมบันทีกข้อมูลภาคประชาสังคม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 24 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประธานแจ้งให้เลขาออกหนังสือเชิญประชุม
  • เลขาออกหนังสือเชิญประชุมและประสานกับคณะทำงาน
  • เลขาออกระเบียบวาระการประชุม
  • นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาดประธานสถาบันครอบครัวสุข ศานติเป็นประธานที่ประชุมได้เปิดการประชุมด้วยการอ่านซูเราะฮ์ "อัล-ฟาตีฮะหฺ"เพื่่อเป็นสิริมงคลในการประชุมแล้วได้ดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมที่ได้กำหนดไว้
  • ได้แจ้งที่ประชุมเรื่ององค์กรสถาบันครอบครัวได้รับงบสนับสนุนจาก ศอบต.จำนวน 250000 เพื่อดำเนินงานตามโครงการ "การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยกระบวนซูรอ"ตามโครงการการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำปี ๒๕๖๐ (งบ 50 ล้าน)
  • พิจารณาคณะทำงานและแบ่งหน้าที่ความรับผืดชอบเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน - ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบว่าสถาบันครอบครัวได้รับเงินสนับสนุนเพื่อดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ - ได้ร่วมกันพิจาณาแบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบเพิ้อบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด - ได้จัดทำใบประกาศองค์กรภาคประชาสังคม สถาบันครอบครัวสุข ศานติแล้วไปประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่้วไปได้รับทราบ ประกาศองค์กรภาคประชาสังคมชื่อ สถาบันครอบครัวสุข ศานติ ที่ ๑ /๒๕๖๐ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการเงินอุดหนุนภาคประชาสังคมฯ   ตามที่องค์กรภาคประชาสังคม..สถาบันครอบครัวสุข ศานติ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนจาก ศอ.บต. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำหรับดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ รวม 11 กิจกรรมย่อย งบประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้การใช้จ่ายเงินงบประมาณเงินอุดหนุนของ ศอ.บต. ดำเนินการเป็นไปด้วยความโปร่งใส  และสามารถตรวจสอบได้
จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

              ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ เดือน กันยายน พ.ศ. 2560

 

15 15

2. เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนกาปงนิบงหมู่ที่ 2

วันที่ 26 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิด
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนกาปงนิบง บ้านกูเล็ง หมู่่ที่ 2 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนัน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายก อบต.ตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่าม ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลียนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย

 

46 46

3. เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนมัสยิดยาเมร์หมู่ที่ 7

วันที่ 30 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิด
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชน หมู่่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 นายสัญญา อาบูบากา ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายก อบต.ตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่าม ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลียนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย

 

50 50

4. เวที่พูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนบ้านบูเกะปาลัส

วันที่ 7 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนกาปงนิบง บ้านกูเล็ง หมู่่ที่ 2 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

91 91

5. อบรมเรื่องการบริหารจัดการกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน

วันที่ 14 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ที่ประชุมคณะทำงานได้กำหนดวัน เวลาและสถานที่อบรม
  • เลขาขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์เพราะรู้จักเป็นการส่วนตัวมาให้ความรู้อบรมเรื่องการบริหารจัดการกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  • เลขาออกหนังสือเชิญเข้าร่วมอบรม
  • นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธีด้วยกระบวนการซูรอ
  • ได้แจ้งกิจกรรมตามโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธีด้วยกระบวนการซูรอ
  • ได้วางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานประจำหมู่บ้านได้อบรมเรื่องการบริหารจัดการโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธีด้วยกระบวนการซูรอ
  • ได้แจ้งกิจกรรมตามโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวธีด้วยกระบวนการซูรอ
  • ได้วางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • คณะทำงานและผู้ประสานงานประจำหมู่บ้านได้รับการอบรมการบริหารจัดการโครงการ

 

20 20

6. พิธีเปิดโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ

วันที่ 17 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • เลขาออกหนังสือเชิญคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  • ประชุมปรึกษาหารือกันก่อนดำเนินแต่ละกิจกรรมและประชุมสรุปหลังจากดำเนินกิจกรรม
  • แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละคนและอาสาที่จะทำ
  • แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
  • เชิญนายอำเภอยี่งอและหน่วยงานภาครัฐ
  • เชิญนายรังสฤษฎ์  ราชมุกดา นายกเทศมนตรีตำบลยี่งอมาร่วมกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมโครงการ
  • เชิญนายเมธา เมฆารัฐ ประธานสภาเครือข่ายช่วยเหลือด้านมนุษย์ธรรมสำนักจุฬาราชมนตรี กล่าวโอวาทและพบปะผู้เข้าร่วมโครงการฯ
  • เชิญบาบออับดุลเลาะ โอ๊ะหลง ประธานสถาบันปอเนาะศึกษาจังหวัดนราธิวาสมาให้ความรู้ กำหนดการ โครงการ"การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ
    ตามโครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ งบกลางประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ในวันอังคาร ที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00-16.00 น. ณ หอประชุมที่ว่าการอำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
    โดย สถาบันครอบครัวสุข ศานติ

เวลา 09.00-09.30 น. - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงทะเบียน เวลา 09.30-12.00 น. เข้าสู่พิธีการ - กล่าวต้อนรับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  โดย นายรังสฤษฎ์  ราชมุกดา นายกเทศมนตรีตำบลยี่งอ - กล่าวรายงาน ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การจัดโครงการฯ โดย  นายอับดุลลาตีฟ  ขาวสะอาด  ประธานสถาบันครอบครัวสุข
ศานติและประธานจัดงาน - พิธีเปิดโครงการฯ  โดย นายยาลา  ใบกาเด็ม  นายอำเภอยี่งอเป็น ประธาน -กล่าวโอวาทและพบปะ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ  โดย  นายเมธา  เมฆารัฐ ประธานสภาเครือข่ายช่วยเหลือด้านมนุษย์ธรรมสำนักจุฬาราชมนตรี

เวลา 12.00-13.30 น. พักรับประทานอาหารและปฏิบัติศาสนกิจ

เวลา 13.30-14.30 น. - กิจกรรมบรรยายพิเศษเรื่อง "สังคมพหุวัฒนธรรมกับการจัดการความ ขัดแย้งโดยสันติวิธี" โดย บาบออับดุลเลาะ โอ๊ะหลง ประธานสถาบันปอเนาะศึกษาจังหวัดนราธิวาส

เวลา 14.30-15.45 น. - กิจกรรม “สายใยรักแห่งครอบครัวสุข ศานติ”

เวลา 16.00 น. - พิธีปิดโครงการฯ  โดย  นายอับดุลอาซิซเจ๊ะเตะ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

391 386

7. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน

วันที่ 21 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น กำหนดการ โครงการ"การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ" กิจกรรม "ค่ายเปลี่ยนความขัดแย้ง สู่ความเมตตาและอภัยต่อกัน
    ตามโครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ งบกลางประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ระหว่างวันที่ 21-23 ตุลาคม 2560
    ณ โรงเรียนบ้านกูเล็ง หมู่ที่ 2 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
    โดย สถาบันครอบครัวสุข ศานติ

เวลา กิจกรรม วันเสาร์ที่ 21 ตุลาคม 2560 09.00-09.30 น. ลงทะเบียน/รายงาตัวเข้าอบรม
09.30-12.00 น. เข้าสู่พิธีการ กล่าวต้อนรับ ผู้เข้าร่วมการอบรม"ค่ายเปลี่ยนความขัดแย้ง สู่ความเมตตาและอภัยต่อกัน โดย นายจิรวัฒน์ อาแว ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกูเล็ง - กล่าวรายงาน ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การจัดโครงการฯ โดย นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด ประธานสถาบันครอบครัวสุข ศานติและประธานจัดงาน - พิธีเปิดโครงการฯ โดย นายณรงค์ เจะเตะประธานชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านอำเภอยี่งอเป็นประธาน - กล่าวโอวาทและพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดย นายอับดุลอาซิซ เจ๊ะเตะ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอ - ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและกฎระเบียบในการอยู่ร่วมกันในค่ายอบรมโดย จูลี บีดิง 12.00 น. – 13.30 น. พักรับประทานอาหาร/ละหมาดซุฮรี 13.30 น. – 14.00 น. กิจกรรมนันทนาการ 14.00 น. – 15.30 น. บรรยายในหัวข้อ “การสร้างรั่วตนเอง ครอบครัวและสังคมจากความขัดแย้ง” 15.30 น. – 16.30 น. ละหมาดอัศริ / บทขอพรยามเย็น 16.30 น. – 18.00 น. ออกกำลังกาย / กิจวัตรส่วนตัว / อาบน้ำ 18.00 น. – 19.30 น. ละหมาดมัฆริบ / รับประทานอาหารค่ำ 19.30 น. – 20.00 น. ละหมาดอิซาอฺ 20.00 น.– 21.30 น ฝึกอ่านอัลกุรอานตามกลุ่ม/กิจกรรมสันทนาการ 21.30 น.– 4.15 น พักผ่อน / นอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

180 185

8. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน

วันที่ 22 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนในเขตอำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น วันอาทิตย์ ที่ 22 ตุลาคม 2560 4.15 น. – 4.45 น. ตื่นนอน/กิจวัตรส่วนตัว/ละหมาดตาฮยุต/ละหมาดวิตร 4.45 น. – 5.45 น. ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดศุบฮฺ / ฝึกอ่านอัลกุรอานตามกลุ่ม/อ่านบทขอพรยามเช้า) 5.45 น. – 7.30 น. กิจกรรมนันทนาการ/ออกกำลังกาย/อาบน้ำ/กิจวัตรส่วนตัว 7.30 น.– 8.30 น. รับประทานอาหารเช้า 8.30 น. – 10.30 น. บรรยายในหัวข้อ “พลังธรรม พลังครอบครัวนำสังคมสู่สันติสข” 10.30 น – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่มและจัดเตรียมสัมภาระส่วนตัว 11.00 น. - 12.00 น. ออกเดินทางไปมัสยิดตาอาวุน บ้านปู อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
    12.00 น. – 13.30 น. พักรับประทานอาหาร/ปฏิบัติศาสนกิจ 13.30 น. – 15.30 น. บรรยายในหัวข้อ “ปฏิบัติตนอย่างไรเมือเผชิญความขัดแย้ง”โดยโต๊ะอีหม่ามมัสยิดตาอาวุน 15.30 น. – 16.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดอัศริ / บทขอพรยามเย็น 16.30 น. – 18.00 น. ออกเดินทางไปพักแรมที่หาดำบลแหลมโพธ์ อ.ยะหริ่ง / กิจวัตรส่วนตัว / อาบน้ำ 18.00 น. – 19.30 น. ปฏิบัติศาสนกิจละหมาดมัฆริบ / รับประทานอาหารค่ำ 19.30 น. – 20.00 น. ละหมาดอิซาอฺ 20.00 น.– 21.30 น กิจกรรมฐานความรู้ ฐานที่ 1 ตะอารุฟ รู้จักซึ่งกันและกัน ฐานที่ 2 อัตตะอาลุฟ สร้างความคุ้นเคยสนิทสนมซึ่งกันและกัน ฐานที่ 3 อัตตะฟาฮุม สร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน ฐานที่ 4 อัรริอายะฮ การเอาใจใส่ดูแลซึ่งกันและกัน ฐานที่ 5 อัตตะอาวุน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 21.30 น.– 4.15 น พักผ่อน / นอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

166 166

9. ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน

วันที่ 23 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนในตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น วันจันทร์ ที่ 23 ตุลาคม 2560 4.15 น. – 4.45 น. ตื่นนอน/กิจวัตรส่วนตัว/ละหมาดตาฮยุต/ละหมาดวิตร 4.45 น. – 5.45 น. ละหมาดศุบฮฺ / ฝึกอ่านอัลกุรอานตามกลุ่ม/อ่านบทขอพรยามเช้า) 5.45 น. – 7.30 น. กิจกรรมนันทนาการ/ออกกำลังกาย/อาบน้ำ/กิจวัตรส่วนตัว 7.30 น.– 8.30 น. รับประทานอาหารเช้า 8.30 น. – 10.30 น. บรรยายในหัวข้อ “หยุดความขัดแย้ง ซะที” 10.30 น – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 11.00 น. - 12.00 น. กิจกรรมฐานความรู้ 12.00 น. – 13.30 น. พักรับประทานอาหาร/ละหมาดซุฮรฺ 13.30 น. – 14.00 น. ทบทวนบทเรียน 14.00 น. – 15.30 น. บรรยายในหัวข้อ “มาจับมือกันแล้วไปด้วยกันสู่สันติ” 15.30 น. – 16.30 น. ละหมาดอัศริ / บทขอพรยามเย็น 16.30 น. – 18.00 น. รับประทานอาหารค่ำแล้วเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

169 169

10. ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงาน
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

27 29

11. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับสัปบุรุษมัสยิดกามาลิดดีนบ้านกาบุ๊หมู่ที่ 5

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ บ้านกาบุ๊ หมู่่ที่ 5 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
  • ได้รับประทานอาหารร่วมกันกับผู้ร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

96 96

12. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับสัปบุรุษมัสยิดดารุลฟาละห์บ้านคลอแวหมู่ที่ 6

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนบ้านคลอแว หมู่่ที่ 6 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

60 61

13. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับสัปบุรุษมัสยิดอีเดาะหมู่ที่ 4

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนหมู่่ที่ 4 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

80 80

14. พบปะกลุ่มจิตอาสา

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานกับกลุ่มจิตอาสา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกลุ่ม
  • ได้แลกเปลี่ยนการทำงานอาสาเพื่อสังคม

 

90 90

15. เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนปอเนาะหมู่ที่ 3

วันที่ 2 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนปอเนาะ หมู่ที่ 3 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานเพื่อวางแผนงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ประสานกับผู้นำในพื้นที่ กำนันผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนด้านฝ่ายปกครอง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอตัวแทนฝ่ายท้องถิ่น โต๊ะอีหม่ามประจำมัสยิด ฝ่ายศาสนา คณะเจ็ะฆูตาดีกาผู้สอนอิสลามศึกษาประจำมัสยิดและครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินการพูดคุยตามประเด็นหัวข้อที่ได้กำหนดเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้วางไว้
  • ได้พูดคุยให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข
  • ได้พูดคุยในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน
  • ได้พูดคุยแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้พบปะคณะทำงานและผู้ประสานงานในพื้นที่ชุมชนปอเนาะ หมู่ที่ 3 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับกำนัน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา
  • ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สุข ศานติศึกษา
  • ได้พูดคุยประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมในหลากหลายด้านที่จะต้องวางรากฐานของการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการฯ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม -  ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร -  ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ ๑.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน
    ๒.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ ๓.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

25 80

16. สุข ศานติศีกษาสัญจร

วันที่ 15 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

-ิประสานกับโรงเรียนบ้านยี่งอ -ินัดวันเวลาจัดกิจกรรม - ประสา่นกับผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านยี่งอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สร้างสัมพันธ์กับคณะครูโรงเรียนบ้านยี่งอ -ิได้สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี

 

200 200

17. ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน

วันที่ 29 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ประธานกำหนดวันและสถานที่ประชุม
  • เลขาประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน
  • ประธานเปิดการประชุมแล้วดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม
  • ได้ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงานกิจกรรมเสวนาถอดบทเรียนจากการจัดการความขัดแย้งโดยสันติ
  • ได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • เลขาออกหนังสือเชิญคณะวิทยากร ดร.ยูโชะ ตาเละ ผอ.สถาบันอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • เชิญ ดร.อิบรอเฮ็ม อับดุลเลาะห์จากมหาวิทยานราธิวาสราชนครินทร์
  • เชิญโต๊ะอีหม่ามฮาซํน เจะสนิประธานชมรมมัสยิดตำบลยี่งอ
  • แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แจ้งกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินตามแผนที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้กำหนดแนวทางการจัดเวที่เสวนาถอดบทเรียนจากการจัดการความขัดแย้งโดยสันติ -  ได้ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงานกิจกรรมเสวนาถอดบทเรียนจากการจัดการความขัดแย้งโดยสันติ
  • ได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • ได้ออกหนังสือเชิญคณะวิทยากร ดร.ยูโชะ ตาเละ ผอ.สถาบันอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • ได้ออกหนังสือเชิญ ดร.อิบรอเฮ็ม อับดุลเลาะห์จากมหาวิทยานราธิวาสราชนครินทร์
  • ได้ออกหนังสือเชิญโต๊ะอีหม่ามฮาซํน เจะสนิประธานชมรมมัสยิดตำบลยี่งอ
  • ได้ออกหนังสือแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • ได้แจ้งกลุ่มเป้าหมาย
  • ได่้ดำเนินตามแผนที่กำหนด

 

22 22

18. ปิดโครงการ "เสวนาถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้ง

วันที่ 31 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • เลขาประสานกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
  • ได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • คณะวิทยากรที่ได้ร่วมถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอดังนี้ 1.ดร.ยูโชะ ตาเละ ผอ.สถาบันอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2. ดร.อิบรอเฮ็ม อับดุลเลาะห์จากมหาวิทยานราธิวาสราชนครินทร์ 3. โต๊ะอีหม่ามฮาซํน เจะสนิประธานชมรมมัสยิดตำบลยี่งอ
  • แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • แจ้งกลุ่มเป้าหมาย
  • ดำเนินตามแผนที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานและผู้ประสานงานได้พบปะพูดคุยกับนายรังสฤษฎ์ ราชมุกดา นายกเทศมนตรีตำบลยี่งอ
  • ได้ถอดบทเรียนประเด็นปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งกับกลุ่มคนที่ก่อเหตุการณ์ ได้นำไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมที่จะต้องแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีในสังคม
  • ได้เสวนาถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ
  • ได้เรียนรู้ในการจัดการความขัดแย้งด้วยวิถีชุมชน ภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้แสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธีกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ได้สร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุขภายใต้บริบทความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และเป็นมิตร
  • ได้นำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ตามที่ได้พูดคุย
  • ได้นำแสนอวิธีการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการรับมือกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถสรุปสาระสำคัญดังนี้ 1.แบบร่วมมือร่วมใจ เป็นการแก้ไขความขัดแย้งที่ต้องให้มีการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มคนที่เห็นไม่ตรงกัน โดยให้ทั้งสองฝ่ายได้สื่อสารถึงปัญหาและความต้องการของตน โดยจะรักษาผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย ซึ่งมักจะใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเกี่ยวข้องกันอย่างมาก และพร้อมที่จะให้ความเชื่อใจและกัน 2.แบบเอื้ออำนวย เป็นเทคนิคที่มักจะใช้เมื่อมีปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถเกิดความพึงพอใจได้ทั้งสองฝ่ายหรือเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งที่มีความรู้สึกรุนแรงในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกเฉยๆ หรือในสถานการณ์ของการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งค้นพบว่าตนเองเป็นฝ่ายผิดในประเด็นที่ขัดแย้งกัน หรือเมื่อต่อสู้กันไปจนถึงที่สุด เมื่อไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเอาชนะกันได้เลยโดยไม่เน้นการรักษาผลประโยชน์แต่จะให้ความร่วมมือ 3.แบบประนีประนอม เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างความต้องการทั้งสองฝ่าย มักจะใช้เมื่อไม่สามารถร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของทั้งสองฝ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ การเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรองแบบสันติวิธีและสุนทรียสนทนา ซึ่งสามารถนำไปสู่การแก้ไข

 

250 258

19. ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 31 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • จ้างถ่ายเอกสาร
  • เข้าเล่ม
  • ทำปก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารสรุปผลการดำเนินงานจำนวน 3 เล่ม

 

0 0

20. ประชุมร่วมกับเครือข่ายสายเชือกเดียวกัน

วันที่ 9 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกับประธานแต่ละกลุ่มให้รับทราบ นัดวัน เวลา สถานที่ประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ประชุมกับเครือข่ายอาสาทำงานเพื่อสังคมสันติ
  • ได้ประชุมวางแผนแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

 

20 23

21. สุข

วันที่ 27 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ประสานกับกลุ่มเป้าหมาย
  • ประชุมวางแผน แบ่งงานรับผิดชอบ
  • ประชาสัมพันธ์เชิญร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ดำเนินกิจกรรมงาน "สุข"
  • ได้พบปะกับหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่
  • ได้สานสัมพันธ์หน่วยงานภาครัฐกับประชาชน
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ความเข้าใจตามประเด็นที่ได้นำเสนอ

 

1,000 1,000

22. สุข ศานติศีกษาสัญจร

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

นัดประชุมคณะทำงาน ประสานกับโตะอีหม่ามมัสยิดบ้านละหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้สร้างสัมพันธ์กับโตะอีหม่ามมัสยิดบ้านละหาร
  • ได้สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสันติสุข

 

50 50

23. สุข ศานติศีกษาสัญจร ณ มัสยิดโคกพะยอม

วันที่ 10 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดประชุมคณะทำงาน
  • ประสานกับโตะอีหม่ามและผู้รับผิดชอบมัสยิดบ้านโคกพะยอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้สร้างสัมพันธ์กับสัปบุรุษมัสยิดบ้านโคกพะยอม
  • ได้พูดคุยกระบวนการสร้างสันติสุข

 

100 100

24. สุข ศานติศีกษาสัญจร ณ อำเภอบาเจาะ

วันที่ 12 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานกับคณะทำงาน นัดวันเวลาดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้สร้างสัมพันธ์
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้ ความเข้าใจ

 

60 70

25. อบรมบันทีกข้อมูลภาคประชาสังคม

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บันทึกข้อมูลรายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานกิจกรรม

 

120 120

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติวิธี 2. เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมให้เกื้อกูลต่อกระบวนการพูดคุยสันติสุข 3. เพื่อนำหลักการกระบวนการซูรอในการสร้างสันติสุขในสังคม

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนกาปงนิบง (3) เวทีพูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนมัสยิดยาเมร์ (4) เวที่พูดคุยระดมความคิดหาทางออกจากความขัดแย้งกับชุมชนบ้านบูเกะปาลัส (5) อบรมเรื่องการบริหารจัดการกับคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน (6) พิธีเปิดโครงการการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ (7) ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน (8) ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน (9) ค่ายอบรม"เปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความเมตตาและให้อภัยต่อกัน (10) ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน (11) เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความขัดแย้งกับสัปบุรุษมัสยิดกามาลิดดีนบ้านกาบุ๊ (12) ระดมความคิด (13) เวทีระดมความคิดเห็นหาทางออกจากความ (14) พบปะกลุ่มจิตอาสา (15) เวทีพูดคุยระดมความคิดเห็นหาทางออกจาก (16) สุข ศานติศีกษาสัญจร (17) ประชุมคณะทำงานและผู้ประสานงานแต่ละหมู่บ้าน (18) ปิดโครงการ  "เสวนาถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้ง (19) ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน (20) ประชุมร่วมกับเครือข่ายสายเชือกเดียวกัน (21) สุข (22) อบรมบันทีกข้อมูลภาคประชาสังคม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีด้วยกระบวนการซูรอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลลาตีฟ ขาวสะอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด