directions_run

การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน ”

300/122 หมู่บ้านออมทอง หมู่ที่ 4 ต.รุสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสีตีคอรีเยาะยีดือเระ รองประธานเครือข่ายฯ

ชื่อโครงการ การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน

ที่อยู่ 300/122 หมู่บ้านออมทอง หมู่ที่ 4 ต.รุสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 300/122 หมู่บ้านออมทอง หมู่ที่ 4 ต.รุสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน



บทคัดย่อ

โครงการ " การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน " ดำเนินการในพื้นที่ 300/122 หมู่บ้านออมทอง หมู่ที่ 4 ต.รุสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 248,500.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 210 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส มีประชาชนที่มีวัฒนธรรม การดำเนินชีวิตที่หลากหลาย ทั้งคนไทยที่นับถือศาสนาพุทธ คนไทยที่นับถือศาสนาอิสลามและคนไทย ที่นับถือศาสนาคริตส์ ตั้งแต่อดีตมาจะอยู่ร่วมกันในพื้นที่อย่างสุขสงบไม่ขัดแย้ง หรือหวาดกลัวซึ่งกันและกัน ไม่สนใจเรียนรู้ถึงความจำเป็นที่ต้องมีกฎหมายมาบังคับใช้ ไม่ทราบถึงความสำคัญของการบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งความจริงแล้วกฎหมายมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของประชาชนทุกคน เครือข่ายอาสาสมัครยุติธรรมทางเลือก เห็นความสำคัญ และความจำเป็นที่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส ต้องเรียนรู้ ทำความเข้าใจการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างหลากหลายภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองความปลอดภัย และความยุติธรรม กับประชาชน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ไม่เกิดความแตกแยก ในระหว่างคนไทยพุทธ คนมุสลิม ที่มีวิถีชีวิตวัฒนธรรมต่างกันต่อไปอีกซึ่งการให้ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนี้ และความจำเป็นที่รัฐต้องนำกฎหมายมาบังคับใช้ เมื่อประชาชนในพื้นที่เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญ นำไปปฏิบัติแล้ว ก็จะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่กลับมาใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างสงบสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมาย
  2. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 2
  2. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 1
  3. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 3
  4. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 2
  5. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 4
  6. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 3
  7. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 5
  8. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 4
  9. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 6
  10. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 5
  11. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 7
  12. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 6
  13. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 8
  14. จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน
  15. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 1
  16. การอบรมการบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ใขปัญหาและพัฒนา จชต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 1

วันที่ 26 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินการ กิจกรรม และหารือและแต่งตั้งคณะกรรมการการรับผิดชอบโครงการฯและได้กำหนดวางแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการได้รับมอบหมายงานที่ทำในการดำเนินกิจกรรมในการประชุม และสามารถดำเนินงานตามมอบหมาย

 

10 10

2. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 2

วันที่ 2 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมวางแผนการกิจกรรม องค์ความรู้ที่นำไปบรรยาย พหุวัฒนธรรม กิจกรรม work shop
จัดทำเอกสาร เกี่ยวกับ พหุวัฒนธรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  ผลการประชุม ได้ออกแบบกิจกรรม และออกแบบรูปแบบกิจกรรม เป็นลักษณะกึ่งงานวิชาการสอดแทรกตัวอย่างเกี่ยวกับวัฒนธรรมพื้นที่  ประสานงานเครือข่ายในพื้นที่ และวิทยากรที่เกี่ยวข้อง รูปแบบดำเนินกิจกรรม เป็น work shop จัดทำเอกสารและวีดีทัศน์นำเสนอ กิจกรรมแรกจะเป็นรูปแบบเวทีปูพื้นฐานให้ความรู้

 

10 10

3. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 1

วันที่ 4 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

4. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 3

วันที่ 10 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรมแรก  จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

5. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

6. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 4

วันที่ 19 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรมที่สองจ จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

7. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 5

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรม  จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

8. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 3

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

9. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 4

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

10. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 6

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรมแรก  จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

11. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 5

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

12. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 7

วันที่ 4 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรมแรก  จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

13. เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 6

วันที่ 14 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้าเป็นกรแบ่งกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม เพื่อเปิดพื้นที่ในการพุดคุยเกียวกับประเด็น พหุวัฒนธรรม ภายใต้กฏหมายเดียวกัน ส่วนช่วงที่ 2 เป็นการบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นพหุวัฒนธรรม และสรุปประเด็นการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน           แง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน (เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินงานในปีต่อ ๆ ไป รวมถึงจะได้สรุปเป็น   ข้อเสนอต่อรัฐบาลในภาพรวมโครงการ) ประการที่หนึ่ง ต้องยอมรับว่าแนวทางสนับสนุนทุนต่อการทำงานโครงการของภาคประชาสังคมในการพัฒนาสังคมชายแดนใต้นั้น เป็นแนวทางที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งแต่ก็มีความสำคัญในแง่ในการกระบวนการของการสนับสนุนทุน        ซึ่งที่ผ่านยังมีความยืดเยื้อและไม่มีกรอบที่ชัดเจน เช่น การนิยามของการเป็นองค์กรภาคประชาสังคมนั้น ยังไม่ใช่ชัดเจนเท่าที่ควรจึงเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง แต่ก็สามารถเข้าใจได้เพราะเป็นโครงการแรกที่ดำเนินงานเช่นนี้ภายใต้การสนับสนุนของ ศอบต. ประการที่สอง การดำเนินโครงการเกี่ยวกับประเด็นพัฒนาความสัมพันธ์การอยู่ร่วมกันในสถานการณ์ความขัดแย้งชายแดนใต้นั้น เป็นโครงการสำคัญมากที่ไม่ควรถูกละเลยแต่เนื่องจากที่ผ่านมามีการทำความเข้าใจ ให้ความรู้เรื่องเช่นนี้      ในระดับชุมชนน้อยหรือไม่หลากหลายแง่มุมพอจนทำให้อคติการอยู่ร่วมกันยังซ่อนอยู่ในชุมชน ดังนั้นควรจะให้มีการต่อยอดสำหรับเวทีการสร้างการเรียนรู้เช่นนี้ต่อไป ประการที่สาม คุณค่า ความรู้ เกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรมนั้น ยังมีการทำงานวิจัยอยู่น้อย ทำให้แง่มุมคำว่า          พหุวัฒนธรรมเลยมีแง่มุมเดียว ดังนั้นเพื่อให้ก่อเกิดองค์ความรู้และการเผยแพร่ ควรจะสนับสนุนให้เกิดงานวิจัย                เรื่อง สังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทความขัดแย้งอย่างเช่นชายแดนใต้อย่างเป็นจริงเป็นจัง และควรให้มีการจัดทำโดยสถาบันวิชาการที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ เช่น ศูนย์สันติศึกษา ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ  หรือนักวิชาการด้านสังคมมนุษย์วิทยา    ในพื้นที่ชายแดนใต้

 

70 70

14. ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 8

วันที่ 18 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการประชุมสรุปกิจกรรมแรก  จัดเวที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อสรุปจากกิจกรรมแรก ลงเวที ในแง่ปริมาณผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่วางไว้ เพราะกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรมคือ 70 คน แต่เมื่อจัดจริงมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 70 คนเกือบทุกเวที แต่ความหลากหลายในเวทีแต่ละครั้งนั้นยังไม่สมดุลเท่าที่ควรเพราะบางเวทีก็มีคนพุทธน้อย และผู้หญิงน้อย ขณะที่บางเวทีก็มีผู้ชายน้อย     แง่คุณภาพของวัตถุประสงค์คือการมีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กฎหมายไทย        และสถานการณ์ความขัดแย้งนั้น ถือว่าถึงเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาดังนี้ ประการที่หนึ่ง กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมและความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า พหุวัฒนธรรม ประการที่สอง กลุ่มเป้าหมายสะท้อนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมาพร้อมมีข้อเสนอระหว่างผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง    ในการปรับทัศนคติต่อการอยู่ร่วมกัน ประการที่สาม กลุ่มเป้าหมายมีการชักชวนผู้เข้าร่วมคนใหม่ๆที่มีบทบาทในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนในเวทีครั้งที่ 2 ประการที่สี่ กลุ่มเป้าหมายบางส่วนมีข้อเสนออยากจะนำแนวการเรียนรู้ที่ทางโครงการดำเนินไปต่อยอดในงาน      ของตัวเองที่เป็นรูปธรรม

 

10 10

15. การอบรมการบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ใขปัญหาและพัฒนา จชต.

วันที่ 14 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ใขปัญหาและพัฒนา จชต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้ถึงการบันทึกข้อมูล รายละเอียดกิจกรรมขององค์การภาคประชาสังคม 

 

111 111

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1. เพื่อให้ความรู้การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมาย 2. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีทัศนคติที่ดีต่อการอยู่ร่วมกันภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้ง

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 2 (2) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 1 (3) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 3 (4) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 2 (5) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 4 (6) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 3 (7) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 5 (8) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 4 (9) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 6 (10) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 5 (11) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 7 (12) เวที่ยุติธรรมทางเลือกผสานฟื้นฟูวัฒนธรรม ในพื้นที่ 3 จชต. ครั้งที่ 6 (13) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 8 (14)  จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน (15) ประชุมคณะกรรมการโครงการขับเคลื่อนการมีส่วยร่วมภาคประชาสังคม จชต. ครั้งที่ 1 (16) การอบรมการบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ใขปัญหาและพัฒนา จชต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การอยู่ร่วมกันของประชาชนที่มีวัฒนธรรมหลากหลายภายใต้กฎหมายเดียวกัน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสีตีคอรีเยาะยีดือเระ รองประธานเครือข่ายฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด