directions_run

น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

1 เพื่อแก้ไข้ปัญหาปากท้องให้กับประชาชนในพื้นที่ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยการหันมาบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ และได้ใช้จุลินทรีย์ที่ประสิทธิภาพ เพื่อลดต้นทุนในการดำเนินชีวิต 2 เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้และการจัดการแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี 3 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรไทยพุทธ-ไทยมุสลิมอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข สมานฉันท์บนความหลากหลายภายใต้พหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 4 เพื่อพัฒนาขยายผลการประกอบอาชีพ เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถของเกษตรกรที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สร้างกลุ่มเกษตรกรตัวอย่างในการดำเนินชีวิต ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนให้เกิดความยั่งยืนและสันติสุข 5 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนแนวคิดการทำการเกษตรจากการใช้สารเคมีสู่การทำการเกษตรโดยการใช้ชีวภาพ หรือเกษตรอินทรีย์ โดยจะช่วยในการประหยัดค่าใช้จ่ายและสามารถลดต้นทุนในการดำเนินงานในชีวิตประจำวันได้อีกทางหนึ่ง

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 2  จัดอบรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกษตรกรเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้โครงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี  (2) กิจกรรมที่ 1.ประชุมคณะทำงานโครงการเดือนละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้งและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม (3) กิจกรรมที่ 3  สนับสนุนปัจจัยทางการเกษตร แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ (4) กิจกรรมที่4.ติดตามผลการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานเป็นเล่มเอกสาร (5) การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ