directions_run

น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่4.ติดตามผลการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานเป็นเล่มเอกสาร1 สิงหาคม 2561
1
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่เยี่ยมเยือนและประเมินผลเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังจากผ่านการฝึกอบรมและสนับสนุนปัจจัยทางการเกษตร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ     .1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ 3. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ นำแนวคิดมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้จากการประกอบอาชีพและสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 4. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทั้งไทยพุทธไทยมุสลิม สามารถใช้ชีวิตบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม มีการพึงพาซึ่งกันและกัน มีความรักความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน     2. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีภูมิคุ้มกันด้านองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มขึ้นในพื้นที่เป็นจำนวน 200 ครัวเรือน - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายไทยแลนท์ 4.0 อันนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 200 หลังคาเรือน - มีเครือข่ายประชาชนที่มีแนวคิดในการเป็นจิตอาสาประชารัฐในระดับพื้นที่ในการช่วยเหลือ สร้างสังคมที่เป็นกลาง สังคมแห่งการให้ สังคมแห่งการช่วยเหลือพึงพาตนเอง เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่น  อันนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีรายได้จากการประกอบอาชีพจากการทำการเกษตรและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเป็นจำนวนเพิ่มขึ้น จากที่มีอยู่ในพื้นที่และสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ

    3. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมการดำเนินงานระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในการสร้างให้ชุมชนสู่ความมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดการพัฒนาตัวเอง ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และมีความมั่นคงด้านอาหาร - มีกลุ่มคนพอเพียง ชุมชนพอเพียง ต้นแบบในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนรู้จักการพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีพลัง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 200 คน จากที่ตั้งไว้ 200 คน
ประกอบด้วย

จำนวน ......200....... คน  ทั้งไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ที่มีความสนใจและมีความตั้งใจที่จะประกอบอาชีพด้านการเกษตร โดยพิจารณาจากเกณฑ์ดังนี้ 1.เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส ผู้ที่ตกเกณฑ์ จปฐ.  สตรีหม้าย ผู้สูงอายุที่สามารถประกอบอาชีพด้านการเกษตรได้ 2.เกษตรกรที่เคยผ่านการฝึกอบรมอาชีพด้านการเกษตรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร โครงการมัสยิดพอเพียง โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 3.เกษตรกรที่เคยได้รับการสนับสนุนอาชีพด้านการเกษตรจากโครงการอื่นๆแต่ยังมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเพื่อต่อยอดให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 4.เกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจและตั้งใจที่จะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถพัฒนาขยายผลเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรคนอื่นๆได้

กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนปัจจัยทางการเกษตร แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ1 สิงหาคม 2561
1
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สนับสนุนปัจจัยทางการเกษตรให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ภายใต้โครงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานีจำนวน 10 รุ่นๆละ20 คน รวม 200คน ได้แก่ -เมล็ดพันธ์ผักบุ้ง จำนวน 20 คนๆละ 1 กิโลกรัม
-เมล็ดพันธ์ถั่วฝักยาว จำนวน 20 คนๆละ3 ซองๆ
-เมล็ดพันธ์ผักกวางตุ้ง จำนวน 20 คนๆละ 3 ซอง -เมล็ดพันธ์ผักคะน้า จำนวน 20 คนๆละ3 ซอง -หัวเชื้อจุลินทรีย์ EM จำนวน 20 คนๆ ละ1 ขวด -กากน้ำตาล  จำนวน 20 คนๆละ 1 ลิตร
-ก้อนเห็ดนางฟ้า จำนวน 20 คนๆละ 20 ก้อน                                               

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ     1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ 3. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ นำแนวคิดมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้จากการประกอบอาชีพและสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 4. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทั้งไทยพุทธไทยมุสลิม สามารถใช้ชีวิตบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม มีการพึงพาซึ่งกันและกัน มีความรักความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน     2 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีภูมิคุ้มกันด้านองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มขึ้นในพื้นที่เป็นจำนวน 200 ครัวเรือน - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายไทยแลนท์ 4.0 อันนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 200 หลังคาเรือน - มีเครือข่ายประชาชนที่มีแนวคิดในการเป็นจิตอาสาประชารัฐในระดับพื้นที่ในการช่วยเหลือ สร้างสังคมที่เป็นกลาง สังคมแห่งการให้ สังคมแห่งการช่วยเหลือพึงพาตนเอง เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่น  อันนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีรายได้จากการประกอบอาชีพจากการทำการเกษตรและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเป็นจำนวนเพิ่มขึ้น จากที่มีอยู่ในพื้นที่และสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ

    3 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมการดำเนินงานระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในการสร้างให้ชุมชนสู่ความมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดการพัฒนาตัวเอง ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และมีความมั่นคงด้านอาหาร - มีกลุ่มคนพอเพียง ชุมชนพอเพียง ต้นแบบในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนรู้จักการพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีพลัง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 200 คน จากที่ตั้งไว้ 200 คน
ประกอบด้วย

จำนวน ......200....... คน  ทั้งไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ที่มีความสนใจและมีความตั้งใจที่จะประกอบอาชีพด้านการเกษตร โดยพิจารณาจากเกณฑ์ดังนี้ 1.เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส ผู้ที่ตกเกณฑ์ จปฐ.  สตรีหม้าย ผู้สูงอายุที่สามารถประกอบอาชีพด้านการเกษตรได้ 2.เกษตรกรที่เคยผ่านการฝึกอบรมอาชีพด้านการเกษตรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร โครงการมัสยิดพอเพียง โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 3.เกษตรกรที่เคยได้รับการสนับสนุนอาชีพด้านการเกษตรจากโครงการอื่นๆแต่ยังมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเพื่อต่อยอดให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 4.เกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจและตั้งใจที่จะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถพัฒนาขยายผลเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรคนอื่นๆได้

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกษตรกรเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้โครงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี 1 สิงหาคม 2561
1
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้ด้านการเกษตรให้กับเกษตรกรเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 10 รุ่นๆละ20 คนรวม 200คน 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม


ตัวชี้วัดความสำเร็จ 9.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ 3. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ นำแนวคิดมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้จากการประกอบอาชีพและสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 4. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทั้งไทยพุทธไทยมุสลิม สามารถใช้ชีวิตบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม มีการพึงพาซึ่งกันและกัน มีความรักความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 9.2 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีภูมิคุ้มกันด้านองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มขึ้นในพื้นที่เป็นจำนวน 200 ครัวเรือน - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายไทยแลนท์ 4.0 อันนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 200 หลังคาเรือน - มีเครือข่ายประชาชนที่มีแนวคิดในการเป็นจิตอาสาประชารัฐในระดับพื้นที่ในการช่วยเหลือ สร้างสังคมที่เป็นกลาง สังคมแห่งการให้ สังคมแห่งการช่วยเหลือพึงพาตนเอง เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่น  อันนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีรายได้จากการประกอบอาชีพจากการทำการเกษตรและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเป็นจำนวนเพิ่มขึ้น จากที่มีอยู่ในพื้นที่และสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 9.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมการดำเนินงานระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในการสร้างให้ชุมชนสู่ความมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดการพัฒนาตัวเอง ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และมีความมั่นคงด้านอาหาร - มีกลุ่มคนพอเพียง ชุมชนพอเพียง ต้นแบบในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนรู้จักการพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีพลัง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 200 คน จากที่ตั้งไว้ 200 คน
ประกอบด้วย

ทั้งไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ที่มีความสนใจและมีความตั้งใจที่จะประกอบอาชีพด้านการเกษตร โดยพิจารณาจากเกณฑ์ดังนี้ 1.เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส ผู้ที่ตกเกณฑ์ จปฐ.  สตรีหม้าย ผู้สูงอายุที่สามารถประกอบอาชีพด้านการเกษตรได้ 2.เกษตรกรที่เคยผ่านการฝึกอบรมอาชีพด้านการเกษตรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร โครงการมัสยิดพอเพียง โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 3.เกษตรกรที่เคยได้รับการสนับสนุนอาชีพด้านการเกษตรจากโครงการอื่นๆแต่ยังมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเพื่อต่อยอดให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 4.เกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจและตั้งใจที่จะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถพัฒนาขยายผลเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรคนอื่นๆได้

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกษตรกรเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้โครงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี 1 สิงหาคม 2561
1
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้ด้านการเกษตรให้กับเกษตรกรเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 10 รุ่นๆละ20 คนรวม 200คน 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 9.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ 3. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ นำแนวคิดมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้จากการประกอบอาชีพและสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 4. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการทั้งไทยพุทธไทยมุสลิม สามารถใช้ชีวิตบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม มีการพึงพาซึ่งกันและกัน มีความรักความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 9.2 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีภูมิคุ้มกันด้านองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มขึ้นในพื้นที่เป็นจำนวน 200 ครัวเรือน - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในนโยบายไทยแลนท์ 4.0 อันนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนที่ยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 200 หลังคาเรือน - มีเครือข่ายประชาชนที่มีแนวคิดในการเป็นจิตอาสาประชารัฐในระดับพื้นที่ในการช่วยเหลือ สร้างสังคมที่เป็นกลาง สังคมแห่งการให้ สังคมแห่งการช่วยเหลือพึงพาตนเอง เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่น  อันนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีรายได้จากการประกอบอาชีพจากการทำการเกษตรและสามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเป็นจำนวนเพิ่มขึ้น จากที่มีอยู่ในพื้นที่และสามารถสร้างนวัตกรรมของชุมชนสู่ตลาดประชารัฐ 9.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ - เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมการดำเนินงานระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนในการสร้างให้ชุมชนสู่ความมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดการพัฒนาตัวเอง ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิต มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และมีความมั่นคงด้านอาหาร - มีกลุ่มคนพอเพียง ชุมชนพอเพียง ต้นแบบในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนรู้จักการพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีพลัง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 200 คน จากที่ตั้งไว้ 200 คน
ประกอบด้วย

ทั้งไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ที่มีความสนใจและมีความตั้งใจที่จะประกอบอาชีพด้านการเกษตร โดยพิจารณาจากเกณฑ์ดังนี้ 1.เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส ผู้ที่ตกเกณฑ์ จปฐ.  สตรีหม้าย ผู้สูงอายุที่สามารถประกอบอาชีพด้านการเกษตรได้ 2.เกษตรกรที่เคยผ่านการฝึกอบรมอาชีพด้านการเกษตรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร โครงการมัสยิดพอเพียง โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น 3.เกษตรกรที่เคยได้รับการสนับสนุนอาชีพด้านการเกษตรจากโครงการอื่นๆแต่ยังมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเพื่อต่อยอดให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 4.เกษตรกรทั่วไปที่มีความสนใจและตั้งใจที่จะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถพัฒนาขยายผลเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรคนอื่นๆได้

กิจกรรมที่ 1.ประชุมคณะทำงานโครงการเดือนละ 1 ครั้ง รวม 4 ครั้งและจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม30 กรกฎาคม 2561
30
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดประชุมคณะกรรมการโครงการและคณะทำงานโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดปัตตานี

การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.14 กรกฎาคม 2561
14
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย องค์กรภาคประชาชนเพื่อสันติและเศรษฐกิจพอเพียง(กลุ่มเสื้อเขียว) จ.ปัตตานี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความรู้ในการใช้่เทคโนโลยีในการติดตามโครงการและเสนอกิจกรรมขององค์กร

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 111 คน จากที่ตั้งไว้ 111 คน
ประกอบด้วย

การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต.(งบ 50 ล้าน )