แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ ”

ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกันตพัฒน์ ทวีผลทรัพย์

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ

ที่อยู่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 252,540.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เหตุการณ์ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้จากปี พ.ศ. 2547มีผู้ได้รับผลกระทบเสียชีวิตบาดเจ็บและทรัพย์สินเสียหายประมาณ 10,000 คนรัฐบาลมีนโยบายช่วยเหลือเยียวยาโดยการจัดตั้งหน่วยงานเยียวยาผู้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ใน 3 จังหวัด และ 4 อำเภอรวมทั้งการจัดกิจกรรมเยียวยาด้านจิตใจด้วย ในส่วนภาคประชาสังคมมีการจัดตั้งกลุ่มองค์กรด้านการเยียวยาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547เป็นต้นมาจากการจัดประชุมหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมพบว่ามีหน่วยงานภาคประชาสังคมที่ทำหน้าที่เยียวยาผู้รับผลกระทบกว่า 20 องค์กรโดยสนับสนุนเงินยังชีพฉุกเฉินงบประมาณสนับสนุนด้านอาชีพการเสริมทักษะด้านอาชีพเงินทุนการศึกษาแด่บุตรหลานและการเยี่ยมเยียนดูแลด้านจิตใจแก่ผู้รับผลกระทบทั้งที่อยู่ในหลักเกณฑ์และไม่เข้าหลักเกณฑ์การเยียวยาของรัฐ กลุ่มสตรีพุทธเพื่อสังคมเป็นกลุ่มสตรีชาวพุทธกลุ่มเล็กๆที่พัฒนาการรวมตัวกันมาจากสตรีใน 3 จังหวัด 4 อำเภอที่ทำงานเพื่อสังคมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540หลังวิกฤติเศรษฐกิจจนถึงปัจจุบันโดยจัดตั้งชื่อ “กลุ่มสตรีพุทธเพื่อสังคม” ขึ้นในปี พ.ศ. 2558มีสมาชิกปัจจุบัน 40 คนเพื่อทำหน้าที่เยียวยาผู้รับผลกระทบชาวพุทธโดยรวมทั้งการพัฒนาความรู้ความสามารถในการทำงานด้านกระบวนการสร้างสันติภาพการทำงานร่วมกันเครือข่ายผู้หญิง


เครือข่ายประชาสังคมอื่น ๆ เช่นงานอบรมงานรณรงค์ยุติความรุนแรงการจัดทำข้อเสนอเรื่องพื้นที่สาธารณะปลอดภัย เป็นต้น ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีชาวพุทธที่รับผลกระทบเกือบทุกวันทำให้กลุ่มสตรีพุทธเพื่อสังคมทำงานหนักขึ้นในขณะที่ขีดความสามารถมีความจำกัดและพบว่ายังขาดการทำงานเยียวยาเชิงลึกที่จะมีส่วนสำคัญต่อการเยียวยาด้านจิตใจของผู้รับผลกระทบให้เข้มแข็งจากภายในและยังมิได้นำหลักการสำคัญทางศาสนามาเป็นเครื่องมือในการเยียวยาผู้รับผลกระทบจึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องพัฒนาขีดความสามารถของคณะทำงานและสมาชิกกลุ่มฯให้สามารถทำงานเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

1.เพื่อสร้างกระบวนกรในการจัดกิจกรรมเพื่อการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ 2.เพื่อจัดทำหลักสูตรกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ 3.เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของคณะทำงานและแกนนำกลุ่มในการทำงานเยียวยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง (675 × 4 ครั้ง)
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  3. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ
  4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการบันทึกรายละเอียดโครงการ การบันทึกข้อมูลองค์กร และบันทึกข้อมูลกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานกิจกรรมผ่านเว็บไซด์ จำนวน 4 กิจกรรม

 

120 120

2. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วางแผนการทำงานตามที่วางไว้

 

5 5

3. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานประจำเดือนครั้งที่3

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการทำงานในกิจกรรมที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน ทำงานตามแผนที่วางไว้

 

5 5

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
1.เพื่อสร้างกระบวนกรในการจัดกิจกรรมเพื่อการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ 2.เพื่อจัดทำหลักสูตรกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ 3.เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของคณะทำงานและแกนนำกลุ่มในการทำงานเยียวยา

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  ประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง (675  × 4 ครั้ง)  (2) กิจกรรมที่ 1  ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (3) อบรมการบันทึกข้อมูลการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ (4)  ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพกระบวนการเยียวยาเชิงลึกแนวพุทธ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกันตพัฒน์ ทวีผลทรัพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด